Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบทางเดินอาหาร - Coggle Diagram
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบทางเดินอาหาร
ภาวะทุพโภชนาการ(Malnutrition)
โรคอ้วน(Obesity)
สาเหตุ
พันธุกรรม เช่น คนในครอบครัวมีประวัติเป็นโรคอ้วน
สิ่งแวดล้อม
พฤติกรรมการรับประทานอาหาร เช่น ติดหวาน ติดมัน
อาการแสดง
มีการสะสมของเนื้อเยื่อไขมันในร่างกาย
รับประทานอาหารเร็วและมาก
เจริญเติบโตเร็วกว่าเด็กคนอื่น
น้ำหนักกดลงเข่า
ผลกระทบ
ด้านร่างกาย
การผ่าตัดหายช้า
มีความดันโลหิตและระดับไขมันในเลือดสูง
มีระดับหายใจและไขมันในเลือดสูง
มีคลอเรสเตอรอลสูง
มีภาวะดื้อต่ออินซูลิน
ด้านจิตใจ
อารมณ์แปรปรวน
เสียความมั่นใจ
ด้านการเรียน
การเรียนต่ำกว่าปกติ
การพยาบาล
ประเมินสาเหตุ
วัดสัดส่วนของร่างกาย
วัดสัญญาณชีพ
ติดตามผลทางห้องปฏิบัติการ
โรคขาดโปรตีนและพลังงาน
Marasmus
เด็กมีอาการผอม กล้ามเนื้อลีบจากการขาดพลังงาน มีภาวะแทรกซ้อนคือ ขาดน้ำ ติดเชื้อได้ง่าย ตามีรอยโรคจากการขาดวิตามินเอ
Kwashiorkor
เด็กมีอาการบวมฉุ น้ำหนักตัวน้อย เนื่องจากขาดโปรตีนมาก
ผลกระทบ
ด้านสมอง
ด้านเชาว์ปัญญาและความสามารถในการเรียนรู้
ด้านร่างกาย
เตี้ย ซูบผอม กล้ามเนื้อลีบ น้ำหนักตัวน้อย ติดเชื้อง่าย และส่งผลต่ออวัยวะภายในอื่นๆ
สาเหตุ
ทางเศรษฐกิจ ทางสังคม
สิ่งแวดล้อม คือ ขาดความรู้ในการเลี้ยงดูครอบครัว เช่น มีความเชื่อผิดๆเกี่ยวกับการกินอาหาร
แม่ขาดสารอาหารตั้งแต่ระยะตั้งครรภ์
การเจ็บป่วยของทารก เช่น การติดเชื้อ ท้องเสียเรื้อรัง ท่อน้ำดีตีบตัน
การรักษา
ให้ได้รับสารอาหารครบตามหลักโภชนาการ
รักษาประคับประคองตามอาการ รักษาโรคแทรกซ้อน
การรักษาเฉพาะ เช่น การให้ยาปฏิชีวนะตามการเพาะเชื้อ
การรักษาด้านจิตใจ
พยาธิสภาพ
เมื่อขาดสารอาหาร 2-3 วันแรก ตับจะสลายไกลโคเจนเป็นกลูโคส ทำให้กลูโคสในเลือดลดลง อินซูลินลดลง กลูคากอนสูงขึ้น ทำให้เกิดขบวนการสร้างกลูโคสจากสารที่ไม่ใช่คาร์โบไฮเดรต มีการสลายโปรตีนจากกล้ามเนื้อเป็นกรดอะมิโนเพิ่มขึ้น ไขมันเป็นกรดไขมันอิสระเพื่อเปลี่ยนเป็นกลูโคสให้อวัยวะต่างๆของร่างกายใช้
เมื่อขาดสารอาหาร 5-10 วัน ร่างกายเปลี่ยนไปใช้ไขมัน คือสารคีโตนเป็นพลังงานแทน เมื่อไขมันถูกใช้หมดจะกลับมาใช้โปรตีนที่เหลือเป็นพลังงานโดยจะใช้โปรตีนในอวัยวะที่สำคัญ เช่น หัวใจ ปอด เม็ดเลือดแดง ทำให้ร่างกายจะมีชีวิตอยู่ไม่ได้