Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
องค์ประกอบการคลอด 6 P - Coggle Diagram
องค์ประกอบการคลอด 6 P
Position
-
ระยะ 1
ผู้คลอดอยู่ในท่าที่เหมาะสม ท่าที่เหมาะสมจะช่วยให้ผู้คลอดสุขสบายขึ้นและมีการเคลื่อนต่ำของศีรษะทารกเร็วขึ้น ท่าที่เหมาะสมในระยะที่สองของการคลอด คือ ท่าศีรษะสูง (upright position) ได้แก่ ท่านั่ง ท่าศีรษะสูงกว่า 45 -90 องศาจากพื้นราบ นั่งยอง ๆ นั่งคุกเข่า หรือท่าคลาน เป็นต้น
ผู้คลอดรายนี้นอนตะแคงซ้ายศีรษะสูง 30 องศาเพื่อเป็นการส่งเสริมให้มีการเคลื่อนต่ำของส่วนนำทารก และเพิ่มการไหลเวียนเลือด ไปยังมดลูกและรกให้เพียงพอ
ระยะ 2
ผู้คลอดควรจัดให้อยู่ในท่าพร้อมคลอด ได้แก่ ท่านอนหง่ายชั้นคลอดเข่า (dorsal recumben), ท่านอนหงายขึ้นขาหยั่ง(lithotomy position),ท่าศีรษะและลำตัวสูง (upright position),ท่านั่งเบ่งคลอดยอง ๆ, ท่านอนตะแคง
ให้ผู้คลอดนอนตะแคงซ้าย
ผู้คลอดรายนี้นอนหงายชันเข่าทั้งสองข้าง เพื่อช่วยลดอาการปวดและช่วยส่งเสริมการคลอดให้ดำเนินไปได้ด้วยดี
ระยะ 4
ผู้คลอดควรอยู่ในท่านอนที่สุขสบายไม่กระทบต่อแผลฝีเย็บ ได้แก่ ท่านอนตะแคงด้านตรงข้ามกับแผลฝีเย็บ ท่านอนหงาย เป็นต้น
-
Power
primary power
ระยะที่ 1
Latent phase
Uterine contraction
Interval 5-10 นาที
Duration 20-40 วินาที
Intensity mild
ใช้ระยะเวลาในครรภ์แรก 8 ชั่วโมง
ครรภ์หลัง 5ชั่วโมง
Uterine contraction Interval = 2-3 นาที Duration = 30-40 วินาที Intensity = Strong ผู้คลอดครรภ์หลังใช้ระยะเวลา 4 ชั่วโมง
Active phase
Uterine contraction
Interval 2-3 นาที
Duration 40-60 วินาที
Intensity moderate-strong
ใช้ระยะเวลาในครรภ์แรก 5ชั่วโมง
ครรภ์หลัง 2.30 ชั่วโมง
Uterine contraction Interval = 2-3 นาที Duration = 40-50 วินาที Intensity = Strong ผู้คลอดครรภืหลังใช้ระยะเวลา 1 ชั่วโมง
Transitional phase
Uterine contraction
Interval 2 นาที
Duration 60-90 วินาที
Intensity strong
ใช่เวลาในครรภ์แรก 3 ชั่วโมง ครรภ์หลัง น้อยกว่า 1 ชั่วโมง
Uterine contraction Interval = 2 นาที Duration = 60-70 วินาที Intensity = Strong ผู้คลอดครรภ์หลังใช้เวลา 20 นาที
ระยะที่ 2
Transitional phase
Uterine contraction
Interval 2นาที
Duration 60-90 วินาที
Intensity strong
ใช้เวลาในครรภ์แรก 3 ชั่วโมง ครรภ์หลัง น้อยกว่า 1 ชั่วโมง
Uterine contraction Interval = 2 นาที Duration = 60-70 วินาที Intensity = Strong ผู้คลอดครรภ์หลังใช้เวลา 20 นาที
-
secondary power
ระยะที่ 1
อาการอยากเบ่ง จะเกิดขึ้นในปลายระยะที่ 1ของการคลอดคือ ปลาย ระยะ Active phase เมื่อปากมดลูก เปิด 8 ซม. eff 100% station +1 ขึ้นไป จนถึงระยะที่2
-
ระยะที่ 2
อาการอยากเบ่งในระยะที่ 2 เกิดจากการหดรัดตัวของกล้ามเนื้อหน้าท้องและกระบังลม เนื่องจากส่วนนำเคลื่อนต่ำลงไปกดไปเชิงกราน เป็นแรงดันโพรงมดลูกเพิ่มขึ้นเป็น 3เท่า ถ้าผู้คลอดเบ่งถูกวิธี และเหมาะสมกับเวลาจะช่วยให้การคลอดดำเนินการไปด้วยดี
-
ระยะที่ 3
การเบ่งคลอดรก อาศัยแรงเบ่งของผู้คลอดซึ่งทำให้เกิดความดันภายในช่องท้องเพิ่มขึ้นช่วยพลักดันให้รก เคลื่อนต่ำลง ในช่องทสางคลอดและคลอดออกมาเอง
ไม่มีแรงเบ่งจากผู้คลอดในการคลอดรก ซึ่งใช้วิธีในการคลอดรกแบบ Modified crede's maneuver ซึ่งเป็นวิธีที่ผู้ทำคลอดเป็นผู้ช่วยเหลือให้รกคลอดออกมา ผู้คลอดสามารถปฏิบัติได้ถูกต้อง คือ ไม่เบ่งขณะทำคลอดรก
-
passage
Bony passage
ระยะที่ 1,2
-
Pelvic Inlet
มีเส้นผ่านศูนย์กลาง หน้า-หลัง = 10.5-11 เซนติเมตร
ส่วนที่กว้างที่สุด 12-15 เซนติเมตร ความสำคัญคือ ถ้าศีรษะ ของทารกไมาสามารถผ่านไปสู่ Pelvic cavity เรียกว่า Un engagement ทำให้เกิดการคลอดติดขัด
จากการตรวจครรภ์ 4 ท่า ในท่าที่ 3 Pawlik grip ไม่สามารถโยกคลอนบริเวณส่วนนำได้ และจากการตรวจครรภ์ท่าที่ 4 Bilateral inguinal grip ปลายมือทั้งสองข้างไม่สอบกันและจากการตรวจภายใน Station 0 ซึ่งหมายความว่า Engagement แล้ว
Pelvic cavity
เส้นผ่านศุนย์กลางที่สำคัญที่สุดคือ interspinous diameter ยาวประมาณ 10 เซนติเมตร เป็นส่วนที่แคบที่สุดเชิงกรานจึงมักมีปัญหาในความสมดุลระหว่างศีรษะทารกกับเชิงกราน
เกิดจาก Internal rotation ทำให้ทารกมีแนว Saggittal suture อยู่ในแนว A-P Diameter ส่วนนำสามารถเคลื่อนออกมาสู่ระยะ Extention โดยไม่มีการติดขัด
Pelvic outlet
เป็นส่วนที่ยืดขยายได้เล็กน้อย มีเส้นผ่านศูนย์กลาง หน้า-หลัง 9.5-11.5 เซนติเมตร ถ้ามุมใต้กระดูกหัวเหน่าน้อยกว่า 85 องศา จะถือว่าแคบและมีความผิดปกติ
จากการตรวจภายในพบว่า Ischial spine ยื่นแหลมออกมาเล็กน้อย ประมาณ 10 cm ซึ่งไม่มีผลต่อการเคลื่อนผ่านของทารกและไม่มีผลต่อการขัดขวางการหมุดของศีรษะของทารกภายในช่องเชิงกราน
Soft passage
ระยะ1,2,3,4
ปากมดลูก
ระยะ Active phase
เริ่มตั้งแต่ปากมดลูกเปิด 3-10 เซนติเมตร
โดยใช้ครรภ์ โดยครรภ์แรกเปิด 1.2 cm/hr.ครรภ์หลัง 1.5 cm/hr.ใช้เวลาเกินไม่เกิน 5 hr.และครรภ์หลังไม่เกิน 2.5 hr.
-
ระยะ latent phase
เริ่มตั้งแต่เจ็บครรภ์จริงถึงปากมดลูกเปิด 3 เซนติเมตร
โดยในครรภ์แรกเปิด 0.3 cm/hr ครรภ์หลัง 0.5 cm/hr
ครรภ์แรก ใช้เวลา ไม่เกิน 8 ชั่วโมง และครรภ์หลังไม่เกิน 5 ชั่วโมง
-
ระยะ Transitional phase เริ่มตั้งแต่ปากมดลูกเปิด 8-10 เซนติเมตร ใช้เวลาในครรภ์แรก 3 ชั่วโมง ครรภ์หลัง น้อยกว่า 1 ชั่วโมง
-
-
ฝีเย็บ
บริเวณฝีเย็บที่เคยผ่านการผ่าตัดพื้นเชิงกรานจะหนา ฝีเย็บยืดขยายได้ไม่ดีเท่าที่ควร หรือการมี varicose vein ฝี หูด บริเวณฝีเย็บ ทำให้ไม่สามารถตัดฝีเย็บได้
ผู้คลอดมีประวิติการตั้งครรภ์ G3 P2002 ซึ่งเคยได้รับการตัดฝีเย็บมาแล้วแต่จากการสังเกตไม่มี Varicose vein ฝี หูด บริเวณฝีเย็บ ทำให้สามารถตัดฝีเย็บไปตามปกติ ผู้คลอดไม่ได้รับการตัดฝีเย็บ แต่มีการฉีกขาดแผลระดับ Second degree tear ซึ้งได้รับการเย็บแบบ Right medio lateral episiotomy ด้วยไหมละลาย
Passenger
ระยะที่ 1,2
ทารก
ขนาดของศรีษะทารก โดยปกติส่วนนำจะเป็นศีรษะ ซึ่งมีขนาดใหญ่ที่สุด ทารกจึงมีการ Molding ของกระดูกกะโหลกศีรษะ กระดูก Parietalทั้ง2ข้างจึงเกยกัน
ท่าของทารก จะมีความสัมพันธ์ระหว่างความยาวขอ
ทารกและโพรงมดลูก ซึ่งจะมีท่า
longitudinal lie ความยาวของทารกอยู่ในแนวตามยาวของโพรงมดลูก คือสันหลังของทารกจะขนานกับสันหลังของมารดา อาจจะเอาศีรษะหรือก้นเป็นส่วนนำก็ได้
transverse lie ความยาวของลำตัวทารกอยู่ในแนวขวางหรือเฉียงกับความยางของโพรงมดลูกมารดา ซึ่งจะไม่สามารถคลอดได้ทางช่องคลอด
ผู้คลอดมีอายึครรภ์ 38+6 wks. by LMP วัดระดับความสูงของยอดมดลูก 33 cm สัมพันธ์กับอายุครรภ์ทำให้ไม่มีการเสี่ยงต่อการคลอดติดขัด ขนาดทารก ส่วนนำทารกคือ vertex จากการตรวจครรภ์ท่าที่ 3และ 4 Pawlik grip และ Bilateral inguinal grip พบ head engagement การตรวจภายในพบการเคลื่อนของส่วนนำ การตรวจภายในพบ vertex presentation และ posterior fontanelle ลำตัว Longitudinal lie จากการสังเกตหน้าท้องเป็น ovoid shape จากการตรวจครรภ์ท่าที่ 2 Umbilical grip พบ large part อยู่ทางด้านขวา แสดงว่าทารกอยู่มรท่า ROA
รก
รก ประเมินตำแหน่งที่รกเกาะ โดยปกติรกจะเกาะที่ส่วนบนของมดลูก ถ้ารกเกาะต่ำ จะขัดขวางการคลอด ซึ่งประเมินได้จากการตรวจภายในและการ u/s
-
น้ำคร่ำ
น้ำคร่ำ จะสร้างขึ้นปริมาณวันละ 30-40 ml/day จนมีปริมาณ4000cc/hr. เมื่อครรภ์ครบกำหนด (2800 อยู่ในตัวทารก 400 อยู่ในรก 80 ลอยอยู่รอบตัวทารก)ปริมาณน้ำคร่ำจะลดลงในช่วงอายุครรภ์ 36 สัปดาห์ ลดลงมากในช่วง 40 สัปดาห์ โดยตรวจได้จากการ U/S และการตรวจดูลักษณะทางหน้าท้อง ถ้ามากเกินไปจะพบว่ามีFluid thrill น้ำเดินจะเกิดขึ้นในระยะปากมดลูกเปิด 8-10 ซม.
-
ระยะ 3
รก
รก
ซึ่งก่อนที่จะมีการลอกตัวของรก จะมีอาการแสดงดังนี้ 1.Uterine sign คือมดลูกมีการหดรัดตัวกลม แข็ง มีขนาดเล็กลง สังเกตเห็นหน้าท้องมีลักษณะเป็นสองลอน มีลักษณะแข็งและเอียงไปทางขวา 2.Cord sign คือสายสะดือเคลื่อนต่ำลงมา ตรวจพบชีพจรของสายสะดือ ทดสอบได้โดยการทำcord test สายสะดือไม่มีการเคลื่อนตาม 3.Vulva sign คือจะมีเลือดออกทางช่องคลอดประมาณ30-60 พบในการลอกตัวแบบ Matthew Dancan’s method
เลือดหลังจากสิ้นสุดระยะของการคลอดและblood lossจากรกด้วยประมาณ120-240cc หากมากกว่า300cc ถือว่าเสี่ยงต่อการตกเลือดหลังคลอด
น้ำหนักประมาณ 700 กรัม มีเส้นเลือดห่างจากขอบรกประมาณ 1 cm รกำด้านลูกมีลักษณะมันวาว เหนียว มีการฉีกขาดของเยื่อหุ่มทารกส่วนที่สั้นที่สุดมากกว่า 7 cm รกด้านแม่ มีลักษณะเป็นสีแดง มี cotyledon ประมาณ 20 lobe cotyledon sulcus ชัดเจน ไม่มี Infarction และมี calcification ประมาณ 1% ของรกทั้งหมด
เยื่อหุ้มทารก
เยื่อหุ้มรกปกติ -รอยขาดของเยื่อหุ้มทารกใกล้ขอบรกมากที่สุดยาวมากกว่า7cm -เยื่อหุ้มทารกทั้งสองชั้นมีสัดส่วนสมดุลกัน ขนาดทั้งสองข้างเท่ากัน -ขนาดของเยื่อหุ้มทารกมีสัดส่วนเหมาะสม สามารถห่อหุ้มตัวทารกได้ทั้งตัว
จากการตรวจรก พบว่า สายสะดือยาว 45 cm มีเส้นเลือด 3 เส้น vein 2 artery 1 ไม่พบ true knot ,false knot
Psychological condition
ระยะที่ 1,2
ระยะที่ 2
ผู้คลอดจะมีความวิตกกังวลและความเครียดมากมีความเจ็บปวดบริเวณก้นกบปากช่องคลอดและฝีเย็บมากมีอาการอ่อนเพลียทุรนทุรายอยากให้การคลอดสิ้นสุดลงโดยเร็วผู้คลอดจะไม่สนใจสิ่งแวดล้อมการตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อมลดลงความสามารถในการตัดสินใจลดลงอาจแสดงพฤติกรรมก้าวร้าว ได้แก่ ทุบตีตนเองไม่ให้ความร่วมมือในการรักษาพยาบาลร้องเอะอะโวยวายควบคุมตนเองไม่ได้อาจกลั้นหายใจหรือหายใจตื้นเร็วขณะมดลูกหดรัดตัวต้องการให้สามีญาติหรือบุคลากรพยาบาลอยู่เป็นเพื่อนและให้กำลังใจเป็นต้น
-
ระยะที่3,4
ผู้คลอดจะมีความเครียดและความรู้สึกกลัวลดลง จะเริ่มพูดคุย สนใจผู้อื่นและมีความตื่นตัวมากขึ้นกว่าขณะเบ่งคลอดรวมทั้งให้ความสนใจทารกที่คลอดออกมามากขึ้น
ผู้คลอดตื่นตัวดี พูดคุยสนใจบุตร เผชิญความเจ็บปวดได้อย่างเหมาะสม ผู้คลอดได้ทำการ Bounding กับบุตรและได้ให้บุตร Breast feeding ขณะเย็บแผลฝีแย็บ
Physiological condition
ระยะ 1,2
ทฤษฏี
ผู้คลอดอายุ 26 ปี มีการเจริญเติบโตของร่างกายที่เติมที่ไม่เสี่ยงต่อการเกิดภาวะส่วนนำคีรษะไม่ได้สัดส่วนกับเชิงกราน และไม่มีกล้ามเนื้อพื้นเชิงกรานหย่อนตัวหรือ พื้อเชิงกรานขยายได้น้อยทำให้การคลอดยาวนาน
-
-
-
สภาพร่างกาย ผู้คลอดมีภาวะอ่อนเพลียเนื่องจาก NPO เป็นเวลา 5 ชั่วโมง และได้นอนหลับพักผ่อน 6-7 ชั่วโมง ซึ่งผู้คลอดมีแรงเบ่งดี
ระยะ 3,4
ทฤษฏี
ผู้คลอดอ่อนเพลียเล็กน้อย และอ่อนล้าจากการคลอด Vital sign หลังคลอด Pulse = 96 bpm ฺBlood pressure = 124/85 mmHg มดลูกหดรัดตัวดี เป็นก้อน กลม แข็ง
-