Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หญิงตั้งครรภ์ อายุ 40 ปี G2P10001, GDMA2, GDMA1 - Coggle Diagram
หญิงตั้งครรภ์ อายุ 40 ปี
G2P10001
ข้อมูลทั่วไป
:red_flag:ประวัติการตั้งครรภ์ : ครรภ์แรกเพศชาย 13 พ.ค.48 (Full Term) C/S น้ำหนัก 3850 กิโลกรัม ไม่มีภาวะแทรกซ้อน ทารกปัจจุบันแข็งแรงดี
:red_flag:ปฏิเสธประวัติการเจ็บป่วยตนเองและในครอบครัว
:red_flag:ประวัติการผ่าตัด : ปี 2548 C/S due to unfavorable cervix (ปากมดลูกไม่พร้อมสำหรับการชักนำคลอด)
:red_flag: LMP 3 ตุลาคม2563 , EDC by date 10 กรกฏาคม 2564 GA 18 สัปดาห์ 4 วัน
:red_flag:Notify : Eldery Pregnancy , Previous C/S , ต้องการทำหมัน
ฝากครรภ์ที่คลินิก จากนั้นมาฝากครรภ์ที่ รพ.ตร 18 สัปดาห์ 4 วัน
โรคเบาหวานกับการตั้งครรภ์ (Clinical Practice Guideline DM in Pregnancy)
แนวทางการตรวจคัดกรองเบาหวานในขณะตั้งครรภ์
อายุ 30 ปีขึ้นไป - เคยมีประวัติ gestational diabetes (GDM) ในครรภ์ก่อน - น้ำหนักตัวมาก BMI > 27 - มีญาติสายตรงเป็นเบาหวาน (บิดามารดาหรือพี่น้องท้องเดียวกัน) - ตรวจพบน้ำตาลในปัสสาวะ มากกว่าหรือเท่ากับ 1+ - มีประวัติทารกตายคลอดไม่ทราบสาเหตุ , ทารกพิการโดยกำเนิด , มีประวัติคลอดบุตรน้ำหนักมากกว่า 4000 กรัม , ทารกเสียชีวิตในครรภ์ - ตรวจพบมีภาวะความดันโลหิตสูงในขณะตั้งครรภ์หรือมีประวัติโรคความดันโลหิตสูงเรื้อรัง - พบภาวะตั้งครรภ์แฝดน้ำ
ตรวจคัดกรองเมื่อมาฝากครรภ์ครั้งแรก ในกรณีผลตรวจปกติ ให้ตรวจซ้ำเมื่ออายุครรภ์ 24-28 สัปดาห์ หรือเมื่อมีอาการแสดงของภาวะน้ำตาลในเลือดสูง
ใช้วิธี 50 grams glucose challenge test โดยผู้ป่วยไม่ต้องงดอาหาร เจาะเลือดหลังรับประทานกลูโคส 1 ชั่วโมง
ถ้าน้ำตาลในเลือดมีค่ามากกว่าหรือเท่ากับ 140 mg/dl ถือว่าผิดปกติ ให้ตรวจต่อโดยใช้ 100 grams 3-hr OGTT (Oral glucose tolerance test)
OGTT - คืนก่อนวันนัดตรวจ ต้องงดอาหารและน้ำ 6-8 ชั่วโมง
เจาะ FBS หลังจากนั้น เจาะเลือดวัดระดับน้ำตาลชั่วโมง 1,2 และ 3 หลังรับประทานกลูโคส
ในกรณีผลตรวจค่า 100 gm. OGTT ผิดปกติ 1 ค่า ให้ตรวจซ้ำภายใน 1 เดือน
ในกรณีผลตรวจค่า 100 gm. OGTT ปกติทุกค่า ให้ตรวจซ้ำอีกเมื่ออายุครรภ์ 24-28 สัปดาห์
เกณฑ์การวินิจฉัยเบาหวานขณะตั้งครรภ์ - Fasting-1hr.-2hr.-3hr. = 95-180-155-140 mg/dl *Carpenter and Coustan
ผิดปกติ 2 ค่าขึ้นไป วินิจฉัย GDM
GDMA1 วินิจฉัยโดยค่าดังกล่าวผิดปกติ 2 ค่าขึ้นไป โดยค่า fasting น้อยกว่า 95 mg/dl และค่า 2-hr postprandial น้อยกว่า 120 mg/dl
GDMA2 วินิจฉัยโดยค่าดังกล่าวผิดปกติ 2 ค่าขึ้นไป โดยค่า fasting มากกว่าหรือเท่ากับ 95 mg/dl และค่า 2-hr postprandial มากกว่าหรือเท่ากับ 120 mg/dl และได้รับการรักษาด้วยการฉีด Insulin
การดูแลรักษาสตรีที่เป็น Pregestational DM และ GDM
เมื่อวินิจฉัยว่าเป็น Pregestational DM หรือ GDMA2 Consult Med เพื่อดูแลรักษาและปรับขนาดยา insulin เพื่อควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด
ส่งปรึกษาทีมนักโภชนาการ ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการควบคุมอาหาร ตัวอย่างอาหารที่เหมาะสมในแต่ละมื้อที่เหมาะสมในผู้ป่วยเบาหวาน
แบ่งการดูแลเป็น 3 ไตรมาส
ไตรมาสแรก
U/S ยืนยันและติดตามอายุครรภ์ที่แน่นอน
ไตรมาสสอง
พิจารณาส่งผู้ป่วยปรึกษาหน่วยเวชศาสตร์มารดาและทารก maternal fetal medicine (MFM) เพื่อตรวจคลื่นเสียงความถี่สูงหาความพิการแต่กำเนิด (Target sonography) และตรวจ fetal echocardiogram เมื่ออายุครรภ์ 18-22 สัปดาห์
เพื่อศึกษาลักษณะโครโมโซมคัดกรองอาการกลุ่ม Down‘s syndrome สาเหตุเกิดจากความผิดปกติจำนวนโครโมโซม (Aneuploidy) โดยมีโครโมโซมคู่ที่ 21 เกินมา 1 แท่ง (Trisomy 21) ทำให้เกิดปัญหาคือพัฒนาการช้า สติปัญญาด้อย หัวใจพิการ ต่อมไทรอยด์บกพร่อง และอาจเกิดความผิดปกติของนะบบทางเดินอาหาร อุบัติการณ์เพิ่มขึ้นตามอายุของมารดาที่ตั้งครรภ์
เพศชาย XY โครโมโซม 46 คู่ ปกติ ไม่มี Anueploidy
การเจาะน้ำคร่ำ ช่วงเวลาที่เหมาะสมคือ 16-18 สัปดาห์
ไตรมาสสาม
ตรวจติดตามการเจริญเติบโตความผิดปกติของรก และปริมาณน้ำคร่ำด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงเมื่ออายุครรภ์ 28-32 สัปดาห์
ทำ fetal movement count เมื่ออายุครรภ์ 28-30 สัปดาห์
ใน pregestational DM หรือควบคุมเบาหวานน้ำตาลไม่ดีให้ทำ Non reactive test (NST) สัปดาห์ละ 2 ครั้ง ตั้งแต่อายุครรภ์ 32 สัปดาห์
ตรวจวินิจฉัยและรักษาความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ และครรภ์เป็นพิษได้แต่เนิ่นๆ
ตรวจระดับน้ำตาล โดยใช้ FBS และ 2 ชั่วโมงหลังอาหาร อย่างน้อยเดือนละครั้ง (ก่อนอาหาร ระดับน้ำตาล = 60-90 mg/dl , หลังอาหาร 2 ชั่วโมง <120
กรณีน้ำตาลสูงกว่าเกณฑ์ ส่งปรึกษาทีมโภชนาการ ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการควบคุมอาหาร ตัวอย่างอาหารที่เหมาะสมในแต่ละมื้อ เพื่อคำนวณแคลลอรี่ที่เหมาะสม
ข้อวิจฉัยทางการพยาบาล
ไตรมาสแรก 1-13 สัปดาห์
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการตั้งครรภ์เมื่ออายุมาก
ข้อมูลสนับสนุน
มารดาอายุ 40 ปี - Notify : Elderly Pregnancy
วัตถุประสงค์
เพื่อไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนจากการตั้งครรภ์เมื่ออายุมาก
เกณฑ์การประเมินผล
สัญญาณชีพอยู่ในเกณฑ์ปกติ โดยเฉพาะ BP มากกว่าหรือเท่ากับ 140/90 , HR 60-100 bpm
ไม่พบโปรตีนในปัสสาวะ
ไม่เกิดภาวะรกเกาะต่ำ (Placenta previa)
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินสัญญาณชีพ โดยเฉพาะประเมินความดันโลหิตสูง เนื่องจากมารดามีอายุมาก เพิ่มความเสี่ยงที่ทำให้เกิดความดันโลหิตสูงได้มาก
ตรวจคัดกรองเบาหวาน โดยจะคัดกรอง BS 50 gm เมื่อมาฝากครรภ์ครั้งแรก หากผลเป็นปกติจะนัดมาตรวจอีกครั้ง เมื่ออายุครรภ์ 24-28 สัปดาห์ ถ้าหารค่า BS 50 gm > 120 gm/dl จะนัดตรวจ OGTT อีกครั้ง ใน 1สัปดาห์ หากผลผิดปกติ 2 ค่าขึ้นไป จะถือเป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์
ให้คำแนะนำมารดาเกี่ยวกับการตรวจคัดกรองดาวน์ซินโดรมและความผิดปกติของโครโมโซม เนื่องจากความเสี่ยงจะเพิ่มขึ้นตามอายุของสตรีตั้งครรภ์ที่เพิ่มขึ้น โดยจะทำการเจาะน้ำคร่ำ (Amniocentesis) เพื่อตรวจดูความผิดปกิของโครโมโซมและทารก เมื่ออายุครรภ์ 16-18 สัปดาห์
แนะนำมารดาให้รับประทานวิตามินที่ได้รับ ได้แก่ Iodine , Folic acid อย่างสม่ำเสมอ
ติดตามผล Lab โดยเฉพาะ Protein , Creatinine เพื่อประเมินการรั่วไหลโปรตีนในปัสสาวะและประเมินการทำงานของไต
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนเนื่องจากน้ำหนักตัวของมารดาลดลง
ข้อมูลสนับสนุน
BMI 29.97 kg/m2
น้ำหนักก่อนการตั้งครรภ์ 72 กิโลกรัม
ส่วนสูง 155 เซนติเมตร
น้ำหนักปัจจุบัน 71.9 กิโลกรัม น่ำหนักลดลง 0.1 กิโลกรัม
วัตถุประสงค์
ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์
เกณฑ์การประเมินผล
น้ำหนักควรขึ้นในระหว่างการตั้งครรภ์ ไตรมาสที่สอง 7-11.5 กิโลกรัม
กิจกรรมการพยาบาล
ชั่งน้ำหนักมารดาทุกครั้งที่มาฝากครรภ์ โดยน้ำหนักที่ควรขึ้นในระหว่างการตั้งครรภ์ ไตรมาส 2อยู่ระหว่าง 0.18-0.27 kg/wk - แนะนำให้มารดารับประทานอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ งดรัประทานอาหารที่มีไขมันและน้ำตาลสูง เช่น น้ำอัดลม ของทอด ของหวาน ซึ่งจะทำให้ร่างกายมีการสะสมไขมันและน้ำตาลมาก - แนะนำมารดาออกกำลังกายเป็นประจำ - แนะนำมารดาสังเกตลูกดิ้น เพื่อประเมินทารกในครรภ์ หาดลูกดิ้นน้อยลงหรือไม่ดิ้น ให้รีบมาโรงพยาบาล - แนะนำมารดาให้มาพบแพทย์ตามนัด - ติดตาม lab โดยเฉพาะ Protein Creatinine เพื่อประเมินการรั่วของโปรตีนในปัสสาวะและประเมินการทำงานของไต HDL , Triglyceride เพื่อประเมินระดับไขมันในเลือด
ไตรมาสที่สอง 14-27 สัปดาห์
ไตรมาส 28-40 สัปดาห์
มารดาพร่องความรู้ในการดูแลตนเอง
ข้อมูลสนับสนุน
มารดาซักถามเกี่ยวกับแนวทางในการดูแลตนเองและอาการที่ควรมาโรงพยาบาล
วัตถุประสงค์
มารดามีความรู้ ความเข้าในในการดูแลตนเอง
เกณฑ์การประเมินผล
มารดาสามารถอธิบายอาการสำคัญที่ต้องรีบมาโรงพยาบาลได้
มารดาสามารถอธิบายวิธีการปฏิบัติตนได้
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินความรู้ความเข้าใจของมารดาในการปฏิบัติตนในไตรมาส 3 โดยการพูดคุยและซักถามมารดา
ให้คำแนะนำมารดาในการนับลูกดิ้นทุกวัน โดยการนับหลังประทานอาหาร เช้า กลางวัน เย็น เป็นเวลา 1ชั่วโมง ลูกต้องดิ้นอย่างน้อย 3ครั้ง รวม 3 มื้อต้องดิ้นไม่ต่ำกว่า 10 ครั้ง จึงจะถือว่าปกติ และหากมีอาการผิดปกติ เช่น ลูกไม่ดิ้น หรือดิ้นน้อยลง ให้รีบมาพบแพทย์
อาการผิดปกติที่ควรมาโรงพยาบาล อาการปวดศีรษะ ตาพร่ามัว จุกแน่นลิ้นปี่ มีไข้ ปัสสาวะแสบขัด ลูกดิ้นน้อยลง หรือไม่ดิ้น
สังเกตอาการเจ็บครรภ์
2 more items...
ประวัติการฝากครรภ์
10 ก.พ 2564
นน.73.2 กิโลกรัม
อายุครรภ์ 18 สัปดาห์ 4 วัน
U/S ครั้งแรก 19 สัปดาห์ 2 วัน
Glucose(50gm) 181 mg/dl
MFM วันที่ 11 ก.พ 64 ฟังผล 4 มี.ค 64
อายุ 40 ปี
11 ก.พ. 2564
นน.72.5 กิโลกรัม
อายุครรภ์ 18 สัปดาห์ 5 วัน
AF 25 cc. Color is clear
15 ก.พ. 2564
นน.72.6 กิโลกรัม
อายุครรภ์ 19 สัปดาห์ 2 วัน
OGTT = 85-181-184-104
4 มี.ค 2564
นน.76.9 กิโลกรัม
อายุครรภ์ 21 สัปดาห์ 5 วัน
ผล MFM คือ เพศชาย XY ไม่พบ Aneuploidy ปกติ
15 มี.ค.2564
นน.71.1 กิโลกรัม
อายุครรภ์ 23 สัปดาห์ 2 วัน
FBS = 87 , 2 hr.postprandial = 102
การตรวจร่างกาย
ดู : ผู้ป่วย conjunctiva ซีด ไม่มีฟันผุ กดไม่บุ๋ม
หัวนมเต้านมและลานนมปกติ หน้าท้องมี linea nigra มี striae gravidarum มีแผลผ่าตัดคลอดบุตรบริเวณหน้าท้อง
คลำ : fundal grip 3/4 เหนือสะดือ
Umbilical grip OR
Pawilk grip vertex presentation
bilateral inguinal grip Head float
ฟัง : FHS 158 ครั้ง/นาที
GDMA2
GDMA1