Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สงครามมหาเอเชียบูรพา :fire: - Coggle Diagram
สงครามมหาเอเชียบูรพา :fire:
เหตุการณ์ :red_flag:
การขยายอำนาจของญี่ปุ่นโดยจักรพรรดิฮิโรฮิโตะ และนายพลฮิเดกิ โฮโจ :star:
จัดระเบียบใหม่โดยจัดตั้งวงไพบูลย์ร่วมแห่งมหาเอเชียบูรพา
เพื่อปลดปล่อยเอเชียที่เป็นอาณานิคมของชาติตะวันตกโดยเริ่มจากการรุกรานของแมนจูเรีย :pencil2:
เปิดตัวด้วยการโจมตีอเมริกาอ่าวเพิร์ลฮาร์เบอร์ ทำให้เกิดสงครามโลกเต็มตัวก่อนที่จะเข้าโจมตีเอเชียตะวันออกเชียงใต้ :black_flag:
ในตอนแรกญี่ปุ่นได้เปรียบเพราะอาณานิคมจำเป็นต้องนำกองทัพไปช่วยประเทศแม่ในยุโรป :!:
ตอนหลังญี่ปุ่นเสียเปรียบเนื่องจากขาดยุทธปัจจัยทำให้อเมริกาเข้ารุกโจมตีได้เต็มที่ทำให้ญี่ปุ่นเสียเปรียบก่อนที่จะทิ้งระเบิดปรมณู2ลูกที่ฮิโรชิมาและนางาซากิ :explode:
วีรบุรุษ :man_with_gua_pi_mao:
พม่า :flag-mm:
ตอนแรกเข้ากับญี่ปุ่นตอนหลังสงสัยในเอกราชจึงเข้ากับอังกฤษ
มาเลย์เซีย :flag-my:
ชาวจีนในมาเลย์เซียจำนวนมากเข้าต่อต้านญี่ปุ่น
เวียดนาม:flag-vn:
โฮจิมินห์มีบทบาทในการกอบกู้เอกราชของเวียดนาม
ไทย :flag-th:
ขบวนการเสรีไทย
มรดกของสงคราม :male-teacher:
คู่กรรม :pencil2:
บทประพันธ์ของทมยันตี ที่เล่นเกี่ยวกับโกโบริ ทหารญี่ปุ่นกับอังศุมาลิน หญิงไทยที่ตอนแรกไม่ลงรอยแต่ตอนหลังก็ตกหลุมรักกันก่อนที่โกโบริจะตายในสงคราม
เมียเช่า :money_mouth_face:
ในช่วงสงคราม ผู้ชายจำนวนมากเข้าร่วมสงครามที่จากภรรยาจึงหาผู้หญิงมาควงคู่และสาวขายบริการเห็นโอกาสจึงได้เป็นเมียเช่า บางคนได้เดินทางไปญี่ปุ่นด้วย
วิถีซาบูไร :crossed_swords:
บูชิโด คือคติที่ว่าด้วยการเคารพเจ้านายของบ่าวจะต้องฟังเจ้านายของตนเต็มที่การทรยศหักหลังทำกิจจองเจ้านายให้สำเร็จมิเช่นนั้นจะเป็นการเสียเกียรติเป็นอย่างยิ่ง
บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป :confetti_ball:
โมโมฟุคุ อันโดะ ได้รับแรงบันดาลใจมาจากสภาพของประเทศในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ที่ญี่ปุ่นเป็นฝ่ายพ่ายแพ้สงคราม และต้องเสียค่าปฏิกรรมสงครามเป็นจำนวนมาก ซึ่งทำให้มีผลกระทบต่อความเป็นอยู่ของประชาชน จากการที่ได้เห็นชาวญี่ปุ่นต้องเข้าแถวรอรับแจกขนมปังจากรัฐบาล แต่คนเหล่านั้นไม่มีความสุข โมะโมะฟุคุจึงคิดที่จะหาอาหารที่ชาวญี่ปุ่นสามารถรับประทานได้ในราคาถูกและเป็นที่ชื่นชอบด้วย
รถไฟสายมรณะ :skull:
ทางรถไฟสายมรณะ สร้างขึ้นในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยรัฐบาลญี่ปุ่นขอยืมเงินจากรัฐบาลไทย จำนวน 4 ล้านบาท การก่อสร้างใช้เวลาในการสร้างเสร็จเพียง 1 ปี ตั้งแต่เดือนตุลาคม พ.ศ. 2485 ถึงเดือนตุลาคม พ.ศ. 2486 เพื่อใช้เป็นเส้นทางยุทธศาสตร์ผ่านประเทศพม่า หลังสงครามทางรถไฟบางส่วนถูกรื้อทิ้ง บางส่วนจมอยู่ใต้อ่างเก็บน้ำเขื่อนวชิราลงกรณ์ ทางรถไฟสายนี้ถือเป็นอนุสรณ์ให้รำลึกถึงเหตุการณ์สงครามในครั้งนั้น เนื่องจากน้ำพักน้ำแรงของการบุกเบิกก่อสร้าง เป็นของทหารเชลยศึกฝ่ายสัมพันธมิตร ที่กองทัพญี่ปุ่นเกณฑ์มา
หตุที่ทางรถไฟสายนี้ได้ชื่อว่า ทางรถไฟสายมรณะ ก็เพราะว่า ในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 กองทัพญี่ปุ่นได้เกณฑ์เชลยศึกฝ่ายพันธมิตร ได้แก่ ทหารอังกฤษ อเมริกัน ออสเตรเลีย ฮอลันดาและนิวซีแลนด์ ประมาณ 61,700 คนและกรรมกรชาวชาวจีน ญวน ชวา มลายู พม่า อินเดีย อีกจำนวนมากมาก่อสร้างทางรถไฟสายยุทธศาสตร์ เพื่อเป็นเส้นทางผ่านไปสู่ประเทศพม่า เพื่อลำเลียงอาวุธยุทโธปกรณ์ รวมทั้งกำลังพล เพื่อจะไปโจมตีพม่าและอินเดียต่อไป ซึ่งขณะนั้นเป็นดินแดนอาณานิคมของอังกฤษ เส้นทางช่วงหนึ่งจะต้องข้ามแม่น้ำแควใหญ่จึงต้องมีการสร้างสะพานขึ้น การสร้างสะพานและทางรถไฟสายนี้เต็มไปด้วยความยากลำบาก ความทารุณของสงครามและโรคภัยตลอดจนการขาดแคลนอาหาร ทำให้เชลยศึกจำนวนหลายหมื่นคนต้องเสียชีวิตลง ทางรถไฟสายนี้สร้างเสร็จเมื่อวันที่ 25 ตุลาคม พ.ศ. 2486 และเปิดใช้ เมื่อวันที่ 25 ธันวาคม ปีเดียวกัน
ชื่ออื่นๆ
สงคราม 15 ปี
สงครามแปซิฟิค