Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 สุขภาพจิตและพฤติกรรมผิดปกติ, นายณัฐวุฒิ โพธิ์ขาว 116110205023-3…
บทที่ 6
สุขภาพจิตและพฤติกรรมผิดปกติ
ความหมายของสุขภาพจิต
กองสุขภาพจิต กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ได้ให้ความหมายของสุขภาพจิตไว้ว่า สุขภาพจิต หมายถึง สภาพความ
สมบูรณ์ของจิตใจซึ่งดูได้จากความสามารถในเรื่องการกระชับมิตรพิชิตอุปสรรคและรู้จักพอใจ
การกระชับมิตร หมายถึง ความสามารถในการผูกมิตรและรักษาความเป็นมิตรไว้ให้ได้รวมทั้งความสามารถในการอยู่ร่วมกับ
ผู้อื่นได้อย่างราบรื่นและเป็นสุข
พิชิตอุปสรรค หมายถึง ความสามารถในการแก้ปัญหาและปรับตัวให้อยู่ได้หรือก่อให้เกิดประโยชน์ได้ในท่ามกลางความ
เป็นอยู่และความเปลี่ยนแปลงของสังคม
รู้จักพอใจ หมายถึง ความสามารถในการทำใจให้ยอมรับในสิ่งที่อยากได้ อยากเป็นเท่าที่ได้ที่เป็นอยู่จริงได้ด้วยความสบายใจ
ระบบสากลที่ใช้จำแนกความผิดปกติของพฤติกรรม
โรคทางกายสาเหตุจากจิตใจ (Psycho physiologic Disorders)
คนบางคนจึงเกิดความเจ็บป่วยทางร่างกายขึ้น เช่น
มีอาการปวดศีรษะ อย่างรุนแรง เป็นหืด หอบ เป็นหวัดบ่อย ๆ
ท้องเสีย ลำไส้อักเสบ หรือเป็นแผลในกระเพาะอาหาร
บุคลิกภาพผิดปกติ (Personality)
กลุ่ม A พวกพิกลไม่เหมือธรรมดา(Eccentric)
-หวาดระแวง (Paranoid)
-แปลกและเพี้ยน (Schizotypal)
-แยกตัว (Schizoid)
กลุ่ม B พวกเพ้อฝัน อารมณ์รุนแรง(Dramatics/Emotional)
อารมณ์ขึ้นลงเปลี่ยนแปลงมาก (Borderline)
เรียกร้องเอาแต่ใจ (Histrionic)
ต่อต้านสังคม (Antisocial)
หลงตัวเอง (Narcissistic)
กลุ่ม C พวกวิตกกังวลและหวาดกลัว (Anxiety/Fearful)
หลีกเลี่ยง (Avoidance)
พึ่งพา (Dependent)
ย้ำคิดย้ำทำ (Obsessive-Compulsive)
โรคประสาท (Neurosis Disorders)
กังวล ย้ำคิด ย้ำทำ เหนื่อยง่าย ฯลฯ อาการเหล่านี้ไม่ทำให้ผู้ป่วยสูญเสียความสามารถในการทำงานหรือการเข้าสังคมอย่างเห็นได้ชัดเจน บุคลิกภาพไม่เปลี่ยนจนคนภายนอกสังเกตเห็นได้ ไม่มีอาการหลงผิด ประสาทหลอน
โรคจิต (Psychoses)
มักจะมีพฤติกรรมแปลกประหลาดทั้งท่าทางและคำพูด ความคิดสับสน
การสื่อสารไม่ต่อเนื่อง อารมณ์ สับสน ประสาทสัมผัสผิดปกติ เช่น หูแว่ว รับรู้ผิด มีอาการประสาทหลอน
สาเหตุทางกาย
สาเหตุทางใจ
การบำบัดรักษา
วิธีการบำบัดรักษา สามารถแบ่งได้ 3 วิธ
การรักษาทางกาย (Somatic Therapies)
การใช้ยา (Drug Therapy)
การช๊อตด้วยไฟฟ้า/ฉีดอินซูลิน (Electroconvulsive Therapy)
การผ่าตัด (Psychosurgery)
จิตบำบัด (Psychotherapy)
คนไข้ได้สนทนากับจิตแพทย์หรือนักจิตวิทยา
ด้วยบรรยากาศที่ไว้วางใจกัน คนไข้สามารถเปิดเผยความรู้สึกต่าง ๆ ออกมาจนสามารถเข้าใจและหยั่งรู้ตนเองได
พฤติกรรมบำบัด (Behavior Therapy)
การสะกดจิต (Hypnosis
การนั่งสมาธิ (Meditation)
ครอบครัวบำบัด (Family therapy)
Biofeedback
Conditioning
TokenEconomics
นายณัฐวุฒิ โพธิ์ขาว 116110205023-3 เลขที่36