Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 5 ตัวแปร ประชากรและกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยทางส่งเสริมและพัฒนาการเ…
หน่วยที่ 5 ตัวแปร ประชากรและกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ตัวแปรในการวิจัยทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ความหมายและความสำคัญของตัวแปร
ความหมาย
คุณลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่งที่ผู้วิจัยสนใจศึกษา อาจเป็นสิ่งมีชีวิตหรือไม่มีชีวิต
ความสำคัญ
ตัวแปรเป็นตัวเชื่อมโยงกับแนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัย
ตัวแปรเป็นองค์ประกอบสำคัญและถูกนำมาแสดงความเชื่อมโยงกันในกรอบแนวคิดการวิจัย
ตัวแปรถูกนำมากำหนดเป็นสมมติฐานการวิจัย
ตัวแปรช่วยให้สามารถวัดและทดสอบได้
ระดับการวัดตัวแปรมีความสำคัญต่อการวิเคราะห์ข้อมูล
ประเภทและที่มาของตัวแปร
ประเภท
การจำแนกตัวแปรตามการให้ความหมายเชิงนโยบาย
การจำแนกตัวแปรตามคุณสมบัติของค่าตัวแปร
การจำแนกประเภทตัวแปรโดยพิจารณาความต่อเนื่องของค่าตัวแปร
การจำแนกตัวแปรตามความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรในเชิงเหตุและผล
ที่มา
ศึกษาจากแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่ศึกษา
ศึกษาจากงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่ศึกษา
รวบรวมจากข้อเท็จจริงเชิงประจักษ์
การนิยามและการวัดตัวแปร
การนิยามตัวแปร
กำหนดตัวแปรของการวิจัย
นิยามตัวแปร
การนิยามในรูปแนวคิด
การนิยามเชิงปฏิบัติการ
การวัดตัวแปร
ประเภทของการวัดตัวแปร
การวัดทางจิตวิทยา
การวัดทางกายภาพ
ระดับการวัดตัวแปร
การวัดแบบกลุ่มหรือนามมาตร
การวัดแบบจัดอันดับหรืออันดับมาตร
การวัดแบบช่วงหรือช่วงมาตร
การวัดแบบอัตราส่วนหรืออัตราส่วนมาตร
ประชากรและกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
แนวคิดเกี่ยวกับประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประเภทของประชากรในการวิจัย
ประชากรที่มีจำนวนจำกัด
ประชากรที่มีจำนวนไม่จำกัด
ความสำคัญของการสุ่มตัวอย่าง
ได้แทนของประชากรที่ศึกษาเพื่อมาตอบคำตอบคำถามตามวัตถุประสงค์ของงานวิจัย
การสุ่มตัวอย่างช่วยในการแระหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายในการเก็บรวบรวมข้อมูล
สร้างความถูกต้องเชื่อถือได้ของข้อมูลได้สูง
สามารถนำไปใช้กับการตอบปัญหาการวิจัยได้ทันเวลา
การเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างมีรายละเอียดของข้อมูลมาก
ค่าสถิติของกลุ่มตัวอย่าง
ลักษณะของกลุ่มตัวอย่างที่ดี
เป็นตัวแทนที่ดีของประชากรจะต้องไม่มีอคติและสามารถนำไปอ้างอิงขยายผลได้
มีลักษณะตรงกับวัตถุประสงค์ของการวิจัย
ต้องมีลักษณะที่มีความสำคัญของประชากรที่จะศึกษา
ได้จากการสุ่มโดยวิธีการที่เหมาะสม
การกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง
วิธีการกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง
การกำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างกรณีไม่ทราบจำนวนประชากรแน่นอน
การกำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างกรณีทราบจำนวนประชากรแน่นอน
ข้อควรพิจารณาในการกำหนดขนาดตัวอย่าง
วัตถุประสงค์ของการวิจัย
ความคลาดเคลื่อนระหว่างค่าที่แท้จริงกับค่าสถิติที่ใช้เป็นตัวประมาณค่าที่ผู้วิจัยยอมรับได้
ความแปรปรวนของประชากร
ขนาดของประชากร
จำนวนของแปรที่ใช้ในการศึกษา
สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
ธรรมชาติของการทำวิจัย
จำนวนของบุคคลที่มีคุณสมบัติเป็นประชากรในการศึกษา
อัตราการตอบที่ต้องการได้รับคืน
ข้อจำกัดด้านทรัพยากรอื่นๆ
ขั้นตอนและวิธีการสุ่มตัวอย่าง
ขั้นตอนการสุ่มตัวอย่าง
ศึกษาวัตถุประสงค์ของการวิจัย
นิยามประชากร
กำหนดหน่วยตัวอย่าง
กำหนดขนาดของตัวอย่าง
เลือกวิธีการสุ่มตัวอย่าง
ทำการสุ่มตัวอย่าง
วิธีการสุ่มตัวอย่าง
การสุ่มตัวอย่างโดยใช้หลักความน่าจะเป็น
การสุ่มตัวอย่างโดยไม่ใช้หลักความน่าจะเป็น