Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างรู้เท่านั้น - Coggle Diagram
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างรู้เท่านั้น
การประเมินความน่าเชื่อเถือ
1.เนื้อหาเว็บไซต์ไม่ขัดต่อกฏหมายศีลธรรมและจริยธรรม
2.มีการระบุชื่อผู้เขียนบทความหรือผู้ให้ข้อมูลบนเว็บไซต์
3.มีช่องทางให้ผู้อ่านแสดงความคิดเห็น
4.มีการให้ที่อยู๋หรืออีเมลที่ผู้อ่านสามารถติดต่อผู้แลเว็บไซต์ได้
5.มีการอ้างอิงแหล่งที่มาหรือแหล่งต้นตอของข้อมูลที่มีเนื้อหาปรากฏบนเว็บไซต์
เหตุผลวิบัติ
แบบออกได้ 2 แบบ
1.เหตุผลวิบัติแบบทางการ เกิดจากการให้เหตุผลที่ใช้หลักไม่ถูกต้อง แต่เขียนอยู่ในรูปแบบที่เป็นทางการ
2.เหตุผลวิบัติที่ไม่เป็นทางการเกิดจากการให้เหตุผลที่ไม่เกี่ยวข้องกับการใช้ในการพิจารณา
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย
การทำธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์อย่างปลอดภัย
การทำธุรกรรมผ่านอินเตอร์เน็ตหรือธุระกรรมอิเล็ฏทรอนิกนั้นเป็นเรื่องใกล้ตัวเพื่อทำให้ธุรกรรอิเล็กทรอนิกสะดวกมากยิ่งขึ้น
การรู้เท่าทันสื่อ
หมายถึง ความสามรถในการป้องกันตนเองจาการถูกโน้มน้าวด้วยเนื้อหาที่เป็นเท็จและมีผลกระทบต่อผู้อื่น
ข่าวลวงและผลกระทบ
เป็นรูปแบบหนึ่งของการก่อกวน ซึ่งข่าวลวงจะนำเสนอเรื่องราวที่เป็นเท็จมีวัตถุปรสงค์ เพื่อการขายสินค้า ทำให้เกิดความเข้าใจผิดและสับสนให้แก่ผู้รับสาร
กฏหมายเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
สามารถศึกษาได้จากพระราชบัญญัติแต่ละฉบับ ดังนี้
พระราชบัญญัติการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
พ.ศ.2560
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่2) พ.ศ.2560
การใช้งานลิขสิทธฺ์ที่เป็นธรรม
การใช้งานสิทธิ์ที่เป็นธรรม
การคัดลอกคำกล่าวหรือบทความโดยย่อ และมีการอ้างอิง ในการรายงานข่าว
การเสนองานหรือแนะนำโปรแกรมคอมพิวเตอร์สมควรที่จะมีการอ้างอิง
ผู้สอน ทำซ้ำหรือดัดแปลงผลงานเพื่อประกอบการสอนจะต้องมีการอ้างอิงเจ้าของลิขสิทธิ์
การใช้สิทธิ์ไม่เป็นธรรม
การดาวน์โหลดเพลงผู้อื่ยไปขาย
นำไปใช้มีเจตนาทุจริต โดยการนำไปใช้โดยไม่อ้างอิง หรือทำให้ผู้อื่นเข้าใจว่าผลงานนั้นเป็นของตน
การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์แบบทดลองใช้อย่างต่อเนื่องแม้ว่าจะหมดอายุการใช้งาน