โรคจิตเภท Schizophrenia

ระยะเริ่มมีอาการ

ขี้เกียจ ขาดความรับผิดชอบ ไม่สนใจการเรียน

เฉื่อยชา การแต่งตัวเริ่มลดน้อยลง จากเดิมเป็นคนสะอาด

มีการใช้สำนวนแปลกๆ เหม่อลอย

แยกตัว ไม่ต้องการมีสัมพันธภาพกับใคร ขลุกตัวอยู่แต่ในห้อง

ระยะอาการกำเริบ

ความผิดปกติความคิด

ด้านสังคม
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
1.มีสัมพันธภาพบกพร่องเนื่องจากมีพฤติกรรมแยกตัวจากผู้อื่น
2.พร่องในการสร้างสัมพันธภาพกับผู้อื่นเนื่องจากมีพฤติกรรมแยกตัว

หลงผิดว่าคู่ครองของตนเองนอกใจ

หลงผิดคิดว่าตนเองเป็นใหญ่

หลงผิดระเเวงว่าตนเองถูกกลั่นแกล้ง

ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
1.เสี่ยงต่อการเกิดอันตรายต่อตนเองและผู้อื่นเนื่องจากมีความคิดหลงผิด

ข้อมูลสนับสนุน

S:ผู้ป่วยบอกว่าตนเองเป็นเทพเจ้า

S:ผู้ป่วยบอกว่าทุกคนต้องเชื่อฟังเขา

O:ชี้นิ้วสั่งผู้ป่วยอื่นให้ทำตาม

O:ผู้ป่วยแสดงสีหน้าไม่พอใจเวลาผู้ป่วยอื่นไม่เชื่อฟัง

O:ผู้ป่วยร้องขอข้าวมากกว่าผู้ป่วยอื่น

วัตถุประสงค์

เพื่อป้องกันอันตรายต่อผู้ป่วยและผู้ป่วยอื่น

O:ผู้ป่วยอื่นมีสีหน้าไม่พอใจเมื่อผู้ป่วยชี้นิ้วสั่ง

เกณฑ์การประเมินผล

1.ผู้ป่วยไม่ทะเลาะวิวาทกับผู้ป่วยอื่น
2.ผู้ป่วยไม่ออกคำสั่งกับผู้ป่วยอื่น
3.ผู้ป่วยไม่แสดงสีหน้าไม่พอใจใส่ผู้ป่วยอื่น
4.ผู้ป่วยทำตามกฎระเบียบของหอผู้ป่วย
5.ผู้ป่วยไม่แสดงความคิดหลงผิด เช่น ไม่บอกว่าตนเองเป็นเทพเจ้า

กิจกรรมการพยาบาล

1.สร้างสัมพันธภาพโดยการแนะนำตัว เพื่อให้ผู้ป่วยทราบบทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วย

2.ตรวจสภาพจิตด้านความคิด(Thought)ของผู้ป่วยเพื่อประเมินเนื้อหาและระดับความรุนแรงของความคิดหลงผิด

3.ยอมรับ ไม่ตำหนิโต้แย้งความคิดหลงผิดของผู้ป่วยเพื่อให้ผู้ป่วยไว้วางใจ

4.ไม่สนับสนุนหรือคล้อยตามความคิดหลงผิดและพฤติกรรมของผู้ป่วยเพื่อให้ผู้ป่วยทราบบทบาทของตนเองบนพื้นฐานความเป็นจริง

8.

5.สังเกตพฤติกรรมที่สัมพันธ์กับความคิดหลงผิด เช่น สีหน้าไม่พอใจ ท่าทางและการออกคำสั่งผู้อื่น เพื่อเฝ้าระวังการทะเลาะวิวาทกับผู้ป่วยอื่น

6.ถ้าพบพฤติกรรมที่สัมพันธ์กับความคิดหลงผิดของผู้ป่วยให้ทำการแยกผู้ป่วยออกจากคู่กรณีเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดการทะเลาะวิวาท

7.อธิบายเหตุผลที่แยกผู้ป่วยออกจากคู่กรณีเพื่อให้ผู้ป่วยทราบว่าพฤติกรรมที่ปฎิบัตินั้นไม่เหมาะสม

7.อธิบายให้ผู้ป่วยทราบว่าขณะนี้ผู้ป่วยและผู้ป่วยอื่นอยู่ในความดูแลของพยาบาลและเจ้าหน้าที่ ผู้ป่วยมีหน้าที่ปฎิบัติตามข้อตกลงและแผนการรักษาเช่นเดียวกับผู้ป่วยอื่นเพื่อให้ผู้ป่วยเข้าใจบทบาทของตนเองและควบคุมพฤติกรรมของตนเองได้อย่างเหมาะสม

9.จัดสิ่งแวดล้อมให้ปราศจากสิ่งของหรืออุปกรณ์ที่สามารถใช้เป็นอาวุธเพื่อให้ผู้ป่วยและผู้ป่วยอื่นปลอดภัย


O:มีพฤติกรรมนั่งแยกตัวอยู่คนเดียวบ่อยครั้ง

S:ผู้ป่วยปฎิเสธการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่มบำบัด

เกณฑ์การประเมินผล

O:ผู้ป่วยไม่พูดคุยกับใครขณะเข้าร่วมกลุ่มบำบัด

S:ผู้ป่วยปฏิเสธการออกกำลังกาย

S:ผู้ป่วยบอกว่าไม่รู้จักใครเลย

ข้อมูลสนับสนุน

วัตถุประสงค์

เพื่อให้ผู้ป่วยมีสัมพันธภาพกับผู้อื่นมากขึ้น

1.ผู้ป่วยพูดคุยกับผู้ป่วยอื่นมากขึ้นอย่างน้อย 2 คน/วัน
2.ผู้ป่วยมีความร่วมมือในการเข้าร่วมกลุ่มบำบัดอย่างน้อย 3 ครั้ง/สัปดาห์
3.ผู้ป่วยสามารถนั่งรวมกลุ่มกับผู้ป่วยอื่นได้มากกว่า 2 คนขึ้นไป
4.ผู้ป่วยสามารถเข้าร่วมกิจกรรมการออกกำลังกายอย่างน้อย 3 ครั้ง/สัปดาห์

กิจกรรมการพยาบาล

1.สร้างสัมพันธภาพกับผู้ป่วยโดยการใช้หลักการ one-to-one relationship เพื่อให้ผู้ป่วยได้เรียนรู้ทักษะการสร้างสัมพันธภาพกับผู้อื่นจากพยาบาล

2.เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยได้อธิบายความรู้สึกที่ผู้ป่วยแยกตัวและรับฟังผู้ป่วยอย่างตั้งใจเพื่อเข้าใจผู้ป่วยและเพื่อสนับสนุนให้ผู้ป่วยเข้าใจตนเอง

4.ชักชวนให้ผู้ป่วยเข้าร่วมกิจกรรมของหอผู้ป่วยอยู่เสมอเช่น การออกกำลังกาย กลุ่มกิจกรรมบำบัดโดยเริ่มจากกลุ่มเล็กๆ และเป็นกิจกรรมที่ไม่ซับซ้อนเพื่อให้ผู้ป่วยฝึกการปรับตัวเมื่ออยู่ร่วมกับผู้อื่น

5.ชมเชยหรือให้กำลังใจผู้ป่วยเมื่อผู้ป่วยเข้าร่วมกิจกรรมของหอผู้ป่วยและมีสัมพันธภาพกับผู้อื่น เพื่อเสริมเเรงทางบวกให้ผู้ป่วยเกิดความมั่นใจ

3.แนะนำให้ผู้ป่วยรู้จักผู้ป่วยอื่น 1-2 คนในช่วงวัยใกล้เคียงกันหรือเพื่อนข้างเตียงเพื่อให้ผู้ป่วยได้ฝึกการสร้างสัมพันธภาพกับผู้อื่นมากขึ้น