Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 8 การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบทางเดินหายใจ - Coggle Diagram
บทที่ 8 การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบทางเดินหายใจ
กล่องเสียงและหลอดลมอักเสบเฉียบพลัน
(Acute laryngotracheobronchitis, viral croup)
เกิดจาก การติดเชื้อของทางเดินหายใจ ได้แก่
เชื้อแบคทีเรีย
ได้แก่
Mycoplasma pneumoniae
ไวรัส
ได้แก่ parainfluenza viruses (type 1-3) พบได้ร้อยละ 50-75
พยาธิสภาพที่พบในเด็ก
การอักเสบและบวมของกล่อง
เสียง หลอดคอ และหลอดลม
ส่งผลทำให้เกิดภาวะอุดกั้นของทางเดินหายใจส่วนบนแบบเฉียบพลัน
อาการที่พบ
หายใจลำบาก Dyspnea
ไอเสียงก้อง (barking cough)
ไข้ เจ็บคอ
หายใจได้ยินเสียง stridor
ไม่ตอบสนองต่อการพ่นยาทั่วไปส่วนใหญ่จะพ่น Adrenaline ต้องใส่ Endotracheal tube
Tonsilitis/Pharyngitis
สาเหตุ
การติดเชื้อ แบคที่เรีย ไวรัส
เช่น Beta Hemolytic
streptococcus gr. A
เกิดจาก Coxsackie Virus
เรียกว่า Herpangina
อาการ
ไข้
ปวดศีรษะ
ไอ เจ็บคอ
มีตุ่มใสที่คอหอย หรือเพดานปาก
การผ่าตัดต่อมทอนซิล(tonsillectomy)ทำเมื่อ
ติดเชื้อเรื้อรัง (chronic tonsillitis)
มีการอุดกั้นทางเดินหายใจส่วนบน ท าให้เกิดอาการนอนกรนหรือมีภาวะหยุดหายใจขณะหลับ
รายที่สงสัยว่าเป็นมะเร็งของต่อมทอนซิล (carcinoma of tonsils)
การดูแลผู้ป่วยหลังผ่าตัด Tonsillectomy
ให้อมน้ำแข็งก้อนเล็กๆ ค่อยประคบหรืออมใหม่เป็น
เวลา 10 นาที ทำเช่นนี้สลับกันไปเรื่อยๆ
รับประทานของเหลว
แนะนำให้รับประทานอาหารอ่อนที่ค่อนข้างเย็นอมและประคบน้ำแข็งบ่อยๆ เช่น ไอศกรีมข้นๆ
สังเกตอาการและการเปลี่ยนแปลงอย่างใกล้ชิดประกอบกับเด็กเงียบ ซีดบ่งชี้ว่ามีเลือดออก
ควรนอนศีรษะสูง โดยใช้หมอนหนุน
หลังผ่าตัดควรให้เด็กนอนตะแคงไปด้านใดด้านหนึ่ง เพื่อสะดวกต่อการระบายเสมหะ
หลีกเลี่ยงการกินของเปรี้ยวเพราะจะระคายเคืองต่อแผลผ่าตัด
Sinusitis
อาการอักเสบของโพรงอากาศข้างจมูก
สาเหตุ
แบคทีเรีย
เชื้อรา
การติดเชื้อไวรัส
พยาธิสภาพ
เกิดภาวะอุดตันช่องระบายของโพรงอากาศข้างจมูก
การจาม สูดหรือสั่งน้ำมูกทำให้เชื้อแบคทีเรียเข้าไปในโพรงอากาศข้างจมูกได้ง่าย
การบวมของเยื้อบุในโพรงอากาศ
เกิดการคั่งของสารคัดหลั่ง
ระยะของโรค
Acute sinusitis ระยะของโรคไม่เกิน 12 สัปดาห์
Chronic sinusitis อาการจะต่อเนื่องเกิน 12 สัปดาห์
เกิดจากโรคภูมิแพ้
อาการ
มีไข้สูงมากกว่า 39
ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยตามตัว
ลมหายใจมี
กลิ่นเหม็น
ปวดหัวคิ้วมาก
Acute จะรุนแรง
กว่า Chronic
การดูแลรักษา
ยาSteroid เพื่อลดอาการบวม
ยาแก้แพ้ลดอาการจาม น้ำมูกไหล
ให้ยา antibiotic ตามแผนการรักษา
ใช้ยาแก้แพ้ในผู้ป่วยที่เป็นไซนัสอักเสบ
แบบเฉียบพลัน เพราะจะทำให้จมูกและไซนัสแห้ง
การล้างจมูก
ล้างจมูกวันละ 2 ครั้งด้วย 0.9% NSS
ป้องกันการลุกลามของเชื้อโรคจากจมูกและไซนัสไปสู่ปอด
หอบหืด Asthma
ภาวะที่มีการอักเสบเรื้อรังของหลอดลม (Chronic
airway inflammation
มีความไวต่อสิ่งกระตุ้น ทำให้เกิดพยาธิสภาพ 3 อย่าง
ทำให้หลอดลมตีบแคบลง (Stenosis)
มีการสร้างเมือกเหนียวจำนวนมาก (Hypersecretion)
ทำให้หลอดลมหดเกร็งตัว(Brochospasm)
อาการ
มีเสียง
Wheezing ในช่วงหายใจออก
หวัด ไอ มีเสมหะ
การรักษา
ยาที่ใช้ได้แก่
ยาพ่นกลุ่ม Corticosteroids
ต้องดูแลให้บ้วนปากหลังพ่นยาทุกครั้งเพื่อป้องกัน
เชื้อราในปาก
ยาลดอาการบวม เช่น Dexa ซึ่งเป็นยา Steroid
ยาขยายหลอดลม ( Relievers )
จะไม่ใช้วิธีการเคาะปอดในเด็กที่เป็น Asthma เพราะจะทำให้หลอดลมเกิดการหดเกร็งมากขึ้น การพ่นยาดีที่สุด
สิ่งที่ควรหลีกเลี่ยง
งดการออกกำลังกายที่ทำให้เหนื่อยมาก
ตัวไรฝุ่น
อากาศเย็น
ควันบุหรี่
ตัวกระตุ้นทำให้เกิดอาการหอบหืด
หลอดลมฝอยอักเสบ(Bronchiolitis)
หลอดลมอักเสบ( Bronchitis)
สาเหตุ
เด็กที่ไม่กินนมแม่ทำให้ภูมิคุ้มกันตำ่
ติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนล่าง
เชื้อ Respiratory syncytial virus : RSV
เชื้อไวรัส ทำลายเนื้อเยื่อ
ของหลอดลมฝอยทำให้เกิด
อักเสบ
บวม
การคั่งของเสมหะ
เกิด Atelectasis ภาวะปอดแฟบ
อาการ
มีนำ้มูกใส
ไอ หายใจเร็ว
หายใจมีปีกจมูกบาน
การรักษาการดูแล
ดูแลให้ได้รับออกซิเจน รับนำ้เพื่อให้ทางเดินหายใจชุ่มชื้น
เสริมสร้างภูมิต้านทานให้อาหารที่มีโปรตีนสูง(ซ่อมแซม)
ให้ยาลดไข้ ยาปฏิชีวนะ ยาต้านการอักเสบ
ปอดบวม(Pneumonia)
สาเหตุ
แบคทีเรีย
ติดเชื้อ
ไวรัส
สำลักสิ่งแปลกปลอม
อาการ
หอบ
ดูดน้ำ ดูดนมน้อยลง
ซึม
ไข้ ไอ
เกณฑ์ที่องค์การอนามัยโลกใช้ตัดสิน Pneumoni
อายุ2เดือนถึง 1 ปี อัตราการหายใจมากกว่า 50ครั้ง/นาที
อายุ 1-5ปีอัตราการหายใจมากกว่า 40ครั้ง/นาที
เด็กแรกเกิดอัตราการหายใจมากกว่า 60 ครั้ง/นาที
การรักษา
ดูแลให้ได้รับน้ำอย่างเพียงพอ
ดูแลแก้ไขปัญหาพร่องออกซิเจน
ดูแลเรื่องไข้ Clear airway suction เคาะปอดก่อน suction
การพยาบาล
หากหายดีแล้วให้ขอนทับข้างที่ดีเพื่อให้ปอดข้างมีพยาธิสภาพฟื้นตัว
จัดให้ผู้ป่วยนอนศีรษะสูงนอนทับข้างที่มีพยาธิสภาพเพื่อให้ปอดข้างที่ดีขยายตัวได้อย่างมีประสิทธิภาพ
สอนการไออย่างถูกวิธี กระตุ้นให้ดื่มน้ำมากๆ