Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคพิษสุนัขบ้า - Coggle Diagram
โรคพิษสุนัขบ้า
ระบาดวิทยา
มีสุนัขหรือแมวจรจัดมาก
เศษอาหารเหลือมาก
เป็นชาวพุทธ
จับสัตว์มาฉีดวัคซีนไม่ได้
โรคที่มีอัตราการป่วยน้อยแต่แสดงอัตราการตาย100%
การดูแลรักษาสัมผัสโรค
1.ปฐมพยาบาลบาดแผลโดยทันที
2.การป้องกันบาดทะยัก
3.การรักษาตามอาการ
4.การตัดสินใจใช้วัคซีน และอิมมูโนโกลบุลินป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า
การติดต่อ
ถูกสัตว์ที่เป็นบ้ากัดหรือสัมผัสน้ำลาย
ระยะฟักตัวของโรค3อาทิตย์
ความไวของสัตว์ที่เป็นโรค
ระดับความเสี่ยงต่อการติดเชื้อ
กลุ่มที่1การสัมผัสที่ไม่ติดโรค
ลักษณะการสัมผัส
ป้อนน้ำ,อาหารสัตว์
ถูกเลียสัมผัสน้ำลาย,เลือด
ผิวหนังไม่มีบาดแผลหรือรอยถลอก
การปฏิบัติ
ล้างบริเวณที่สัมผัส
ไม่ต้องฉีดวัคซีน
กลุ่มที่2การสัมผัสที่มีโอกาสติดโรค
ถูกงับมีรอยช้ำที่ผิวหนัง
ถูกข่วนที่ผิวหนังเป็นรอยถลอก(abratson)
ถูกเลียโดยที่น้ำลายสัมผัสแผล
การปฏิบัติ
ล้างAlcohol และรักษาบาดแผล
ฉีดrabies vaccine(RV)
กลุ่มที่3การสัมผัสที่มีโอกาสติดโรคสูง
ถูกกัดโดยฟันสัตว์แทงทะลุผิวหนังมีเลือดออก(laceration)
ถูกข่วนจนผิวหนังขาด
ถูกเลียแผลที่มีเลือดออกแผลลึก
มีแผลที่ผิวหนังและไปลอกหนังสัตว์
กินอาหารดิบที่ปรุงจากสัตว์
การปฏิบัติ
ล้างและรักษาแผล
ฉีด rabies vaccineและRIG โดยดร็วที่สุด
การให้วัคซีนผู้สัมผัสโรค(การฉีดกระตุ้น)
สัมผัสภายใน6เดือน
ฉีดเข้ากล้ามเนื้อครั้งเดียวในวันแรก1จุดขนาด0.1ml
สัมผัสหลัง6เดือนขึ้นไป
ให้ฉีด2ครั้งวันที่0,3ครั้งละ1ขนาด0.1ml
ในกรณีที่ได้รับการฉีดกระตุ้นไม่จำเป็นต้องฉีดอิมมูโนโกลบุลิน
การฉีดวัคซีนหลังสัมผัสโรค
กล้ามเนื้อ
ฉีด HDCV,PDEV1ml
ฉีดPVRV,CPRV 0.5ml
Deltoid
เด็กเล็ก anterolateral
ห้ามฉีดเข้ากล้ามเนื้อสะโพก
ไขมันเยอะวัคซีนซึมช้า
ฉีดครั้งละ1โด๊สในวันที่0,3,7,14,30
การวินิจฉัยภาวะการสัมผัส
หากผู้สัมผัสมีบาดแผลต้องรีบปฐมพยาบาลบาดแผลทันที
ประวัติของการสัมผัส
ใช้แบบฟอร์มการซักประวัติผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้า
ข้อควรปฏิบัติเมื่อสัมผัสกับสัตว์ที่ สงสัยว่าจะเป็นบ้า
กักดูอาการ
โค3เดือน ทั้วไป1เดือน
สุนัข15วัน
ชันสูตร
ส่งหัวสัตว์ที่สงสัยไปยังห้องlab ถ้าเป็นบ้าให้ผู้ถูกกัดไปพบแพทย์
เพื่อขอฉีดวัคซีนหรือไฮเปอร์อิมมูนซีรั่ม
แผลใกล้ศรีษะควรฉีดภายใน24ชั่วโมง
สาเหตุ
ไวรัสRhabdovirus
พบได้ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม