Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคฉี่หนู (Leptospirosis), น.ส.มานิตตา แสงจันทร์ 62111301072 เลขที่ 69…
โรคฉี่หนู (Leptospirosis)
คือ
เป็นโรคติดต่อจากสัตว์สู่คน
เกิดได้ตลอดปี แต่พบมากช่วงปลายฤดูฝน ต่อฤดูหนาว
สามารถติดต่อได้จากสัตว์หลายชนิด เช่น
หนู
สุนัข
แมว
สุกร
โค
กระบือ
ม้า
แพะ
แกะ
กลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรค
เกษตรกร ชาวไร่ ชาวนา ชาวสวน
คนงานฟาร์มเลี้ยงสัตว์ โค สุกร ปลา
กรรมกรขุดท่อระบายน้ำ เหมืองแร่ โรงฆ่าสัตว์
กลุ่มอื่นๆ
แพทย์
เจ้าหน้าที่ห้องทดลอง
ทหารและตำรวจ
กลุ่มประชาชนทั่วไป
มักเกิดในที่มีน้ำท่วม ผู้ที่บ้าน
มีหนูนามาก
ผู้ที่ปรุงอาหารหรือรับประทานอาหาร
ที่ไม่สุก
สาเหตุของการเกิดโรค
Leptospirosis
การติดเชื้อแบคทีเรียรูปเกลียว (spirochete)
ชื่อ เล็ปโตส- ไปโลร่า อินเทอโรแกนส์
โดยมีหนูเป็นแหล่งรังโรคที่สำคัญที่สุด
เชื้อชนิดนี้อาศัยอยู่ในท่อหลอดไตของสัตว์
เชื้อสามารถมีชีวิตได้นานหลายเดือนหลังจาก
ถูกขับออกทางปัสสาวะจากสัตว์ที่มีเชื้อ
การติดต่อของโรค
พยาธิ
ในรายที่มีอาการรุนแรงพบมี การอักเสบ
ของผนังหลอดเลือดแดง(systemicvasculitis) โดยมี การทำลายเซลล์เยื่อบุของหลอดเลือดทำให้มีเลือดออก ทำให้เกิดภาวะการขาดเลือดและการเสื่อมของอวัยวะต่างๆของร่างกาย
ระยะแรก (leptospiremic
phase)
เป็นระยะ 4-7 วันแรก
อาการไข้สูงแบบทันทีทันใด
ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อมาก
กล้ามเนื้อน่อง
อาการตาแดง
ระยะที่ 2 (immune phase)
เริ่มมีไข้
ปวดศีรษะ
อาเจียนเยื่อหุ้มสมองอับเสบ
กินเวลา
4 วันถึง 30 วัน
หลังจากนั้นเชื้อจะออกมาใน
ปัสสาวะนาน 1-3 สัปดาห์
อาการแสดงตามระบบต่างๆของร่างกาย
ระบบกล้ามเนื้อ
โดยเฉพาะบริเวณกล้ามเนื้อน่องซึ่งพบ
ได้บ่อย
creatine
phosphokinase (CPK) สูงผิดปรกติได้
ระบบทางเดินอาหาร
ผู้ป่วยมักมี
อาการเหลือง ในช่วงวันที่
4-7
ระบบทางเดินปัสสาวะและไต
ความผิดปกติ
มีไข่ขาวใน
ปัสสาวะ หรือพบเม็ดเลือดขาว หรือเม็ดเลือดแดง
ระบบอื่น
ส่วนภาวะเกล็ดเลือด
ต่ำ(thrombocytopeniaหรือ เกล็ดเลือด<100,000/ มคล.)
ภาวะแทรกซ้อน
ภาวะหัวใจวายเฉียบพลัน
ไตวายเฉียบพลัน
กล้ามเนื้อหัวใจและลิ้นหัวใจอักเสบ
ภาวะเลือดออกในอวัยวะต่าง ๆ จากการมี Thrombocytopenia
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ
การพยาบาล
การบันทึกปริมาณน้ำเข้าและออก
สังเกตอาการแทรกซ้อนต่าง ๆ เช่น
มีตัวตาเหลืองเพิ่มขึ้น
ซึมลง
ปัสสาวะออกน้อย
ปวดศีรษะอย่างรุนแรง
คอแข็ง
การเต้นของหัวใจผิด
ปกติ
ให้ความรู้และความกระจ่างเรื่องโรค
การดูแลให้ผู้ป่วยได้พักผ่อนอย่างเพียงพอ
การเช็ดตัวลดไข้ กระตุ้นให้ดื่มน้ำ
การดูแลให้ได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดตามแผนการรักษา
การดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
การดูแลให้ผู้ป่วยได้รับประทานอาหารอ่อนย่อยง่ายให้พลังงานสูง
การดูแลให้ผู้ป่วยดื่มน้ำมากกว่า 2,000
การป้องกัน
ควรขับถ่ายปัสสาวะและอุจจาระลงในโถส้วมทุกครั้ง
ปิดฝาถังขยะ หมั่นกำจัดขยะโดยเฉพาะเศษอาหารทุกวัน
รักษาความสะอาดบ้านเรือน
และดูแลบริเวณบ้าน/
น.ส.มานิตตา แสงจันทร์ 62111301072 เลขที่ 69 รุ่น 37