Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บาดทะยัก (Tetanus), น.ส.วริษฐา โปรยทอง รุ่น 37 เลขที่ 75 รหัส 62111301078 …
บาดทะยัก (Tetanus)
กิจกรรมการพยาบาล
แยกผู้ป่วยไว้ในห้องแยกที่เงียบสงบ ไม่มีแสงรบกวน ระมัดระวังอย่าให้มีเสียงดังเพื่อหลีกเลี่ยงการกระตุ้นให้ผู้ป่วยชักเกร็งมากขึ้น
หมั่นดูแลความสุขสบายของผู้ป่วย และความสะอาดของร่างกาย โดยเฉพาะปากฟัน เพราะผู้ป่วยอ้าปากไม่ค่อยได้ จะทำให้ปากสกปรก และเป็นแหล่งสะสมของเชื้อโรคมากขึ้น
-
ดูแลการให้อาหารเหลวทางสายยาง และระวังการสำลักอาหาร เพราะผู้ป่วยมักจะรับประทานอาหารทางปากไม่ได้ แพทย์มักกำหนดให้อาหารเหลวทางสายยาง
ขณะที่ผู้ป่วยมีอาการชักเกร็ง ต้องระมัดระวังไม่ให้ผู้ป่วยตกเตียง ระวังการกัดลิ้นโดยใช้ mouth gag ใส่ไว้ สังเกตการหายใจขณะชัก ดูแลให้ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ สังเกตอาการ ลักษณะ ระยะเวลาในการชัก
หมั่นดูดเสมหะ น้ำมูก น้ำลาย เพื่อให้ทางเดินหายใจโล่ง จัดท่านอนโดยหันหน้าตะแคงศีรษะไปข้างใดข้างหนึ่ง เพื่อป้องกันการสำลัก
-
-
อาการ
-
-
บางคนอาจมีอาการของระบบประสาทอัตโนมัติ เช่น หัวใจเต้นเร็วผิดปกติ เหงื่อออกมากผิดปกติ ความดันโลหิตสูงผิดปกติ เป็นต้น
สาเหตุ
-
การติดต่อ
-
-
-
การติดเชื้อทางสายสะดือในทารก เนื่องจากการทำคลอดที่ใช้ของมีคมที่ไม่สะอาดตัดสายสะดือ และยิ่งมีความเสี่ยงสูงเมื่อมารดาไม่ได้ฉีดวัคซีนป้องกันบาดทะยักอย่างครบถ้วน
ทางฟันที่ผุ หรือทางหูในพวกที่มีหูอักเสบอยู่ โดยการใช้เศษไม้ หรือต้นหญ้าที่มีเชื้อโรคนี้ติดอยู่แคะฟัน หรือแยงเข้าหู
-
-
การป้องกัน
-
ป้องกันไม่ให้เกิดบาดแผล หรือเมื่อเกิดบาดแผลที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อบาดทะยัก ควรรีบล้างแผลให้สะอาดด้วยน้ำสะอาดและฟอกสบู่นานอย่างน้อย 10-15 นาที และรีบมาพบแพทย์
-