Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 2 แนวคิดในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเพื่อการจัดการทรัพยากรสู่ควา…
หน่วยที่ 2 แนวคิดในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเพื่อการจัดการทรัพยากรสู่ความมั่นคงทางอาหาร
แนวคิดของการจัดการทรัพยากรเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
แนวคิดของการส่งเสริมการเกษตร
เพื่อให้บริการเผยแพร่ความรู้ทางวิชาการและเทคโนโลยีที่จำเป็น
เพื่อพัฒนาและยกระดับมาตรฐานคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ของกลุ่มเป้าหมายและสังคม
เพื่อให้เกิดการพัฒนาชุมชนการเกษตร
เพื่อเพิ่มผลผลิตและประสิทธิภาพการผลิต
เพื่อเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้อง ทันสมัย และเหมาะสม
เพื่อพัฒนาให้กลุ่มเป้าหมายเป็นกำลังสำคัญในการมีส่วนร่วมในกิจกรรมการอนุรักษ์และการใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างชาญฉลาด
แนวคิดของการพัฒนาการเกษตร
การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านการเกษตร
การเสริมสร้างความเข้มแข็งให้เกษตรกร
ส่งเสริมการทำการเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ส่งเสริมการทำการเกษตรในรูปแบบของการพัฒนาเครือข่ายวิสาหกิจ
ความมั่นคงด้านอาหารและพลังงาน
เศรษฐกิจสร้างสรรค์ในภาคเกษตร
เศรษฐกิจการเกษตรสีเขียว
ความร่วมมือและข้อตกลงระหว่างประเทศ
การพัฒนาบุคลากรด้านการเกษตร
แนวคิดของการจัดการทรัพยากรการเกษตร
การจัดการทรัพยากรน้ำ
การจัดการทรัพยากรดิน
การจัดการทรัพยากรป่าไม้และความหลากหลายทางชีวภาพ
การส่งเสริมและพัฒนาทรัพยากรการเกษตร
การส่งเสริมและพัฒนาทรัพยากรดินเพื่อการเกษตร
การป้องกันการชะล้างพังทะลายของดิน
การป้องกันการแพร่กระจายของดินที่มีปัญหาจากแหล่งกำเนิดไปยังพื้นที่อื่น
การปลูกพืชบำรุงดิน
การส่งเสริมและพัฒนาทรัพยากรนํ้าเพื่อการเกษตร
การบำรุงรักษาและซ่อมแซมระบบชลประทาน
การส่งเสริมและพัฒนาทรัพยากรน้ำเพื่อการเกษตรต้องให้ความสำคัญกับการมีส่วนร่วม
การพัฒนาทรัพยากรน้ำใต้ดิน
การส่งเสริมและพัฒนาทรัพยากรน้ำเพื่อการเกษตรต้องให้ความสำคัญกับการบริหารจัดการ
การคำนึงถึงปัจจัยต่างๆที่เกี่ยวข้อง
การส่งเสริมและพัฒนาทรัพยากรน้ำเพื่อการเกษตรภายในพื้นที่ของเกษตรกร
การจัดการที่เหมาะสมกับแต่ละพื้นที่
การผันน้ำระหว่างแม่น้ำ
การส่งเสริมและพัฒนาทรัพยากรป่าไม้เพื่อการเกษตร
วนเกษตรแบบบ้านสวน
วนเกษตรที่มีต้นไม้แทรกในไร่นาหรือทุ่งหญ้า
วนเกษตรที่มีต้นไม้ล้อมไร่นา
วนเกษตรที่มีแถบต้นไม้และพืชผลสลับกัน
วนเกษตรใช้พื้นที่หมุนเวียนปลูกไม้ยืนต้น พืชผล และเลี้ยงสัตว์
การจัดการสิ่งแวดล้อมทางการเกษตรเพื่อความมั่นคงทางอาหาร
การจัดการมลพิษสิ่งแวดล้อมทางการเกษตร
การลดปริมาณ ณ แหล่งกำเนิด
การบำบัด
การนำกลับมาใช้ใหม่
การคัดแยก ปละการทำให้ตกตะกอน
การจัดการสิ่งแวดล้อมเพื่อความมั่นคงทางอาหาร
สิทธิการถือครองที่ดิน
การได้รับสิ่งอำนวยความสะดวกและปัจจัยสนับสนุนการผลิตทางการเกษตร
การสร้างหลักประกันด้านผลตอบแทนทางเศรษฐกิจจากการผลิตทางการเกษตร
การดำรงไว้ซึ่งวิถีชีวิตและองค์ความรู้ภูมิปัญญา
รูปแบบการบริหารจัดการทางการเกษตร