Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วัณโรค (Tuberculosis : TB), น.ส.พิชญาภา น้อยเงิน เลขที่ 58 รหัส…
วัณโรค (Tuberculosis : TB)
ปัญหา
Pt.สูงอายุ แพ้ยาวัณโรค
ชุมชนรังเกียจ
Pt.ฐานะยากจน ไม่มีคนดูแลการกินยา
Pt.กินยาไม่ครบ แพร่เชื้อ ดื้อยา
Pt.มารักษาช้า แพร่เชื้อ
เป็นโรคที่ติดเชื้อแบคทีเรีย Mycobacterium tuberculosis
เจริญได้ดีในที่ที่มี ph 6.0-7.6
เชื้อมีผนังหนามาก ทนทานต่อสิ่งแวดล้อม
ระยะฟักตัว 4-5 weeks
ถูกทำลายในน้ำเดือด 2 นาที
ทนทานต่อความแห้งแล้ง มีชีวิตอยู่ได้ 4-5 ชั่วโมง
อยู่ในห้องมืดได้ 40วัน-เดือน
แสงอาทิตย์ทำลายเชื้อโรคได้ใน 5 นาที
การติดต่อของโรควัณโรค
วัณโรคเป็นโรคติดต่อทางระบบทางเดินหายใจ แบบ Airborne-transmitted infectious disease
สามารถติดต่อจากคนสู่คน โดยการสูดหายใจเอาเชื้อ
วัณโรคที่ปนออกมากับละอองน้ำลายหรือเสมหะ เมื่อผู้ป่วยไอหรือจาม
ปัจจัยการแพร่กระจายเชื้อวัณโรคจากคนสู่คน
ความสามารถในการรับของผู้รับเชื้อวัณโรค
ระยะเวลาที่สัมผัสเชื้อโรค
ความสามารถในการแพร่เชื้อวัณโรคของผู้ป่วย ได้แก่ ผลย้อมเสมหะ พบเชื้อวัณโรค พบฝีในเอกซเรย์ปอด
ปัจจัยของสิ่งแวดล้อม เช่น การระบายอากาศที่ไม่เหมาะสม สถานอับทึบ แสงแดดส่องไม่ถึง
การแพร่เชื้อ
ไอ = 3000 droplet nuclei
พูด 1 นาที = 600 droplet nuclei
จาม = 40,000 droplet nuclei
อาการ
นน.ตัวลดลง
มีเหงื่อออกผิดปกติในตอนกลางคืน
อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย
เบื่ออาหาร
มักมีไข้ตอนบ่าย
ไอมีเลือดปน
ไอแห้ง ไอนานกว่า 3 week ต่อมามีเสมหะเจ็บชายโครง
หลักการในการช้ยารักษาโรค
ต้องให้ยาขนาดที่เพียงพอ
ผู้ป่วยต้องกินยาอย่างสม่ำเสมอ
ต้องใช้ยา 3-4 ขนานพร้อมกัน
ระยะเวลาที่กินยาต้องครบถ้วนตามมาตรฐาน
การวินิจฉัย
ตรวจเสมหะ 3 ครั้ง
X-Ray ทรวงอกเพื่อดูรอยโรค
ซักประวัติ ตรวจร่างกาย
การเก็บเสมหะเพื่อส่งตรวจ
Spot sputum
เสมหะในวันที่ผู้ป่วยมาตรวจ
ต้องบ้วนปากก่อนทุกครั้ง
Early morning specimen = collected sputum
เสมหะที่ผู้ป่วยเก็บได้ในตอนเช้าหลังตื่นนอน
ไม่ต้องแปรงฟัน
การรักษา
สามารถรักษาได้ในระยะเวลา 6-8 เดือน โดยการกินยาอย่างสม่ำเสมอ ไม่ขาดเลย
ยารักษา
Pyrazinamide =Z
Ehambotol = E
Rifampicin = R
Streptomycin = S
Isoniazed = H
หลักการให้ยาวัณโรค
ดูเขากลืนยา
เสร็จแล้วบันทึก
หยิบยาให้กิน
แก้ไขการรักษาไม่สม่ำเสมอ/ผู้ป่วยดื้อยา
DOTS
D = Directly
O = Observe
เป็นการกินยาภายใต้การสังเกตโดยตรง
T = Treatment
การปฏิบัติตัวเมื่อเป็นวัณโรค
ห้ามหยุดยาเองเด็ดขาด
ปิดปาก จมูก เวลาไอ/จาม
กินยาตามชนิด ขนาด ตามระยะเวลาที่แพทย์สั่งอย่างสม่ำเสมอ ไปพบแพทย์ตามนัด
บ้วนเสมหะลงในภาชนะที่มีฝาปิด
งดเหล้า บุหรี่ ยาเสพติด
อาการข้างเคียงของยารักษาวันโรค
อาการที่ต้องหยุดยาและพบแพทย์
หูอื้อ ตามัว มึนงง อาเจียน
ตัวเหลือง ตา เหลือง
ผื่นแพ้ ผิวหนังลอก
อาการที่ไม่ต้องหยุดยา แต่ต้องพบแพทย์/พยาบาล
ปัสสาวะสีส้ม
ปวดข้อ ปวดเข่า
คลื่นไส้
ผื่นคันไม่รุนแรง
เบื่ออาหาร
วัตถุประสงค์ของการรักษาผู้ป่วยวัณโรค
ป้องกันการเกิดเชื้อดื้อยา
ป้องกันการเสียชีวิต
ลดการแพร่ระบาดเชื้อวัณโรค
รักษาผู้ป่วยให้หาย
ป้องกันการกลับเป็นซ้ำ
น.ส.พิชญาภา น้อยเงิน
เลขที่ 58 รหัส 62111301060