Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคหืดหอบ ภาวะ asthma exacerbations - Coggle Diagram
โรคหืดหอบ ภาวะ asthma exacerbations
ภาวะที่ผู้ป่วยมีเกิดมี อาการหายใจลําบาก, ไอ, หายใจมีเสียงวิ๊ด, หรือแน่นหน้าอก หรือมีอาการเหล่านี้ร่วมกันอย่างฉับพลัน โดย อาการจะเป็นรุนแรงมากขึ้นเรื่อยๆตามเวลาที่ผ่านไป
การพยาบาล
3.ดูแลให้สารน้ำ 5 % DN/3 1000 ml ทาง IV
4.ประเมินภาวะพร่องออกซิเจนจากอาการและอาการแสดง
2.วัดสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง ให้ยาตามแผนการรักษาของแพทย์
1.On O2 cannula 3 LPM ,keep O2 sat >95 %
ประเมินอาการตามความรุนแรงของการหอบหืด
1.อาการเล็กน้อย(Mild)คือ ไอ หายใจเสียงหวีดเบาๆ หายใจลำบากมาก สามารถพูดได้เป็นประโยคสั้นๆเท่านั้น
2.อาการปานกลาง(Moderate) คือ ไอตลอดเวลา ไอถี่ๆ หายใยมีเสียงหวีดดัง หายใจลำบากชัดเจน พูดได้เพียงประโยคสั้นๆเท่านั้น
3.อาการรุนแรง(severe) คือมีอาการ กระสับกระส่าย กระวนกระวายมาก หายใจบางครั้ง ไม่ได้ยินเสียงหวีด หายใจลำบากมาก
ข้อวินิจฉัย
1.ภาวะพร่องออกซิเจน เนื่องจากมีการอุดกั้นทางเดินหายใจ
2.เสี่ยงต่อภาวะปอดอักเสบ เนื่องจากมีเสียงWheezing
พยาธิสภาพ
2.เกิดการหดเกร็งของหลอดลม
3.must cell ถูก กระตุ้น
1.ร่างกายได้รับสารภูมิแพ้
4.ร่างกายตอบสนองโดยมีอาการหอบ
การทำงานของระบบหายใจปิดปกติ(ผล blood gas=มีเลือดเป็นกรด)
การรักษา
Immunotherapy
กายภาพบำบัด
การออกกำลังกาย
รักษาโรคหืดหอบระยะยาว
ขณะมีอาการหอบ ให้ยาพ่น/ยาหยอดเข้าเส้นเลือด
สาเหตุ
1.พันธุกรรม
2.การที่เด็กมีความไวต่อการตอบสนองเช่น ฝุ่นPM 2.5 เกษร ดอกไม้
3.มีปัจจัยกระตุ้นภายใน
การพยาบาลในช่วงที่เด็กกลับบ้าน
งดพาเด็กออกไปนอกบ้านถ้าไม่จำเป็น ทำกิจกรรมในบ้านแทนไปก่อน
ใช้ Application เช็กปริมาณฝุ่นละออง โดยค่ามาตรฐานที่กรมควบคุมมลพิษกำหนดไว้คือ 50 มคก./ลบ.ม.
สวมหน้ากากอนามัยป้องกันฝุ่นละอองให้กับเด็ก เมื่อต้องออกจากบ้าน
เปิดเครื่องฟอกอากาศ เมื่อเข้าบ้านให้ปิดประตูหน้าต่างให้สนิท
เสริมวิตามินให้ถูก คำแนะนำจาก UNICEF คือให้รับประทานอาหารและเครื่องดื่มที่มีวิตามินซี วิตามินอี สารต้านอนุมูลอิสระ และโอเมก้า 3 มากขึ้น
ถ้าลูกป่วยควรรีบไปพบแพทย์ ถ้าลูกมีอาการป่วย เช่น มีอาการไอ เจ็บคอน้ำมูกไหล เป็นหวัด ควรรีบพาลูกไปพบคุณหมอ
เกณฑ์การประเมิน
2.ฟังเสียงหายใจได้เสียงปกติ ไม่มีเสียงwheezing
3.มีอัตราการหายใจไม่เกิน 40 ครั้ง/นาที
1.หายใจปกติ ไม่หอบเหนื่อย
4.ชีพจรมากกว่า120 ครั้ง/นาที
กิจกรรมพยาบาล
สอนและสาธิตการไออย่างมีประสิทธิภาพ โดยให้มารตามีส่วนร่วมในการสาธิต
2.1 สอนการไอแบบ Huff cough โดยการสูดหายใจเข้าลึก ๆ แล้วทำเสียกระแอมในคอแทนการไอขณะหายใจออก ให้ทำบ่อย ๆ โดยเฉพาะช่วงเข้าเมื่อตื่นนอน เพื่อขับเสมหะที่คั่งค้างอยู่ตลอดคืน
2.2 สอนการไอแบบ Cascade cough โดยสูดหายใจลึก ๆ แล้วไอ 2-3 ครั้ง ในช่วงจังหวะการหายใจออก
สอนวิธีการป้องกันการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจซึ่งจะทำให้อาการแย่ลง
3.1 การหลีกเลี่ยงสิ่งระคายเคืองในอากาศ เช่น ฝุ่นละออง ควันบุหรี่ ความเย็น การติดเชื้อจากบุคคลอื่น ๆ
3.2 การสังเกตอาการและอาการแสดงของการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ เช่น การไอมากขึ้นหายใจลำบาก เสมหะเหนียวข้น เหลือง อ่อนเพลีย หรือมีใช้
สอนผู้ป่วยฝึกการหายใจ เพื่อเพิ่มการระบายอากาศ โดยการฝึกการหายใจด้วยการใช้กล้ามเนื้อ
สอนผู้ปกครองเกี่ยวกับการสังเกตอาการผิดปกติที่ควรรีบมาพบแพทย์ เช่น หายใจเหนื่อยหอบหน้าอกบุ๋ม ปลายมือปลาเท้าเขียว
แนะนำช่องทางการขอความช่วยเหลือหรือติดต่อกลับ กรณีเกิดความไม่มั่นใจ หรือกรณีเกิดภาวะฉุกเฉินต้องการได้รับการช่วยเหลืออย่างเร่งด่วน เช่น สถานีอนามัยใกล้บ้าน