Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลเด็กที่มีปัญหาระบบทางเดินหายใจที่พบบ่อยในเด็ก - Coggle Diagram
การดูแลเด็กที่มีปัญหาระบบทางเดินหายใจที่พบบ่อยในเด็ก
หอบหืด Asthma
Asthma เป็นภาวะที่มีการอักเสบเรื้อรังของหลอดลม Chronic airway inflammation
การอักเสบของหลอดลมมีผล ทำให้เยื่อบผนังหลอดลมทำใหเกิดปฏิกิริยาตอบสนองต่อสารภูมิแพ้ เกิด 3 พยาธิสภาพ
1.หลอดเลือดหดเกร็งตัว
2.หลอดลมตีบเเคบลง เยื่อบุหลอดลมบวม
3.การสร้างเมือกเหนียวจำนวนมากทำให้ช่องทางเดินอากาศในหลอดลมแคบลง
การดูแล
ให้ป่วยได้รับยาขยายหลอดลม
ได้รับออกซิเจน ให้พักเพื่อลด activity
ให้ยาลดอาการบวม เช่น Dexa เป็นยา steroid
ในรายที่มีเสมหะไม่ใช้วิธีการเคาะปอดในเด็กที่เป็น Asthma เพราะจะทำให้หลอดลมเกิดการหดเกร็ง
อาการ
อาการ หวัด ไอ มีเสมหะ ถ้าไอมากขึ้นเรื่อยๆ ก็มักจะมีเสียง Wheezing
บางครั้งการเกร็งตัวของหลอดลมเกิดขึ้นไม่มากนัก ผู้ป่วยจะมีอาการไม่มาก แต่ก็เป็นอยู่เรื่อยๆ
ผู้ป่วยเด็กบางคนจะมีอาการไออย่างเดียว และมักจะมีอาการอาเจียนร่วม ด้วย อาการไอจะดีขึ้น หลังจากที่เด็กได้อาเจียนเอาเสมหะเหนียวๆ ออกมา
การรักษาหอบหืด
การลดอาการของเด็ก พยายามหลีกเลี่ยงจากสิ่งกระตุ้นและการใช้ยาอย่าง ถูกต้อง ยาที่ใช้ได้แก่
ยาขยายหลอดลม ยาชนิดพ่นจะให้ผลได้เร็ว ช่วยให้หายใจโล่งข้ึน ตัวยาเช่น Ventolin
บางรายอาจได้รับยาพ่นกลุ่ม Corticosteroids เช่น Flixotide Evohaler ต้องดูแลให้บ้วนปากหลังพ่นยา ป้องกันเชื้อราในปาก
ยาลดอาการบวม ควรใช้เพียงระยะสั้น
สิ่งที่ควรหลีกเลี่ยง
ตัวไรฝุ่น
ควันบุหรี่
หมอน
การใช้ Baby haler
ต้องล้างทำความสะอาดบ่อยๆแต่ไม่จำเป็นต้องทุกครั้งหลังใช้ ล้างด้วยน้ำยาล้างจาน
เวลาจะพ่นให้พ่นยาทิ้ง 1 ครั้งเพื่อให้ยาจับผนังของ spacer ก่อน
ปอดบวม Pneumonia
สาเหตุ
สำลักสิ่งแปลกปลอม ติดเชื้อ แบคทีเรีย ไวรัส
มีอาการ ไข้ไอ หอบดูดน
ปัญหาการแลกเปลี่ยนก๊าซใน Pneumonia
เกณฑที่องค์การอนามัยโลกใช้ตัดสิน Pneumonia
เด็กแรกเกิด อัตราหายใจ > 60 ครั้งต่อนาที
เด็กอายุ 2 เดือน 1 ปี อัตราการหายใจที่มากกว่า 50 ครั้งต่อนาที
เด็กอายุ 1-5 ปี อัตราการหายใจมากกว่า 40 ครั้งต่อนาท
การรักษา
ดูแลให้ได้รับน้ำทำอย่างเพียงพอ เป็นเรื่องสำคัญเพื่อให้เสมหะอ่อนตัวขับออกได้ง่าย
ดูแลเรื่องไข้ เป็นไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้การแลกเปลี่ยนออกซิเจน
ดูแลแก้ไขปัญหาพร่องออกซิเจน ให้ยาขยายหลอดลม ยาขับเสมหะ ยาฆ่าเชื้อ 64
การพยาบาลผู้ป่วยเด็ก Pneumonia
ปัญหาการอุดกั้นทางเดินหายใจเป็นปัญหาสาคัญจาเป็นต้องดูแลแก้ไข
เด็กโตต้องสอนการไออย่างถูกวิธี กระตุ้นให้ดื่มน้ำมากๆ
ในรายที่เสมหะอยู่ลึกให้ Postural drainage โดยการเคาะปอด และ Suction เพื่อป้องกันภาวะปอดแฟบ ( Atelectasis)
ถ้าเป็นข้างซ้ายให้นอนตะแคงขวา ถ้าหายดีเเล้วให้นอนทับข้างที่ดีเเล้ว
หลอดลมอักเสบ Bronchitis หลอดลมฝอยอักเสบ
Bronchiolitis
เป็นการติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนล่างที่พบบ่อยในเด็กเล็ก
เชื้อที่เป็นสาเหตุที่พบบ่อยที่สุด
คือ
Respiratory syncytial virus : RSV
อาการ
เริ่มจาก ไข้หวัดเพียงเลก็น้อย มีน้ำมูกใส จาม เบื่ออาหาร หายใจมีปีกจมูก
การรรักษา
รักษาตามอาการ ให้ยาลดไข้ ยาปฏิชีวนะ ยาต้าน ยาต้านการอักเสบ ( Corticosteroid )
การดูแลให้เด็กได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
ไซนัสอักเสบ ( Sinusitis
เป็นอาการอักเสบของโพรงอากาศข้างจมูก
สาเหตุ
การติดเชื้อไวรัส แบคทีเรีย เชื้อรา
เมื่อเกิดการติดเชื้อจะทำให้เกิดอาการบวมที่เยื่อบุในโพรงอากาศ
ทำให้เกิดการคลั่งของสารคัดหลั่ง
ระยะของโรค
Acute sinusitis ระยะของโรคไม่เกิน 12 สัปดาห์
Chronic sinusitis อาการจะต่อเนื่องเกิน 12 สัปดาห
อาการ
มีไข้สูงมากกว่า 39
ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยตัว มีน้ำมูกไหล
ไอในรายที่ติดเชื้อแบคทีเรีย อาการนานกว่า 10 วัน
น้ำมูกใสหรือเขียวข้นเป็นหนอง
อาการ acute จะรุนแรงกว่า chronic
การตรวจ
การวินิจฉัย x-ray paranasal sinus CT scan ได้ผลดีกว่า
การตรวจด้วยการส่องไฟผ่าน Transilumination พบการอักเสบ
การดูแลรักษา
ให้ยา antibiotic
ให้ยา paracetamal
ให้ยาแก้แพ้ ในรายที่ไซนัสอักเสบเรื้อรังที่มีสาเหตุ ชักนำมาจากโรคภูมิแพ้ไม่ให้ในกรณีผู้ป่วยไซนัสอักเสบเฉียบพลัน
การล้างจมูก
การทำความสะอาดโพรงจมูก
ทำให้โพรงจมูกสะอาด
ป้องกันการลุกลามของเชท้อโรคจากจมูกและไซนัสไปสู่ปอด
ทำให้หายใจโล่งขึ้น บรรเทาอาการระคายเคืองในจมูก
ล้างจมูกวันละ 2 ครั้ง
Tonsilitis
/ Pharyngitis
สาเหตุ
การติดเชื้อ แบคทีเรีย ไวรัส
อาการ
ไข้
ปวดศีรษะ
ไอ เจ็บคอ
อาจมีตุ่มน้ำใส ซึ่งสาเหตุอาจเกิดจาก Coxsackie Virus เรียกว่า Herpangina
การผ่าตัดต่อมทอนซิล ( tonsillectomy)
ทำเมื่อมีอาการติดเชื้อเรื้อรังหรือเป็นๆหายๆ
มีการอุดกั้นทางเดินหายใจส่วนบน ทำให้เกิดอาการเจ็บคอนอนกรน obstructive sleep apnea และ หรือมีภาวะหยุดหายใจขณะหลับ หรือในรายที่สงสัยว่าเป็นมะเร็งของต่อมทอนซิล
การดูแลผู้ป่วยหลังผ่าตัด Tonsillectomy
นอนตะเเคงไปด้านใดด้านหนึ่งเพื่อระบายเสมหะ
สังเกตอาการเเละการเปลี่ยนแปลงอย่างใกล้ชิด ถ้าชีพจร 120 ครั้ง/นาที
เวลาต่อเนื่องเด็กซีด เงียบ อาจมีเลือดออก
เมื่อเด็กรู้สึกตัวให้นั่ง 1-2ชั่วโมงให้อมน้ำแข็งก้อนเล็ก หากปวดให้กินยาแก้ปวด
ผู้ป่วยบางรายอาจมีแผลที่ผนังคอ เจ็บคอ กลืนลำบาก เเนะนำให้ทานอาหารอ่อน เช่น ไอศกรีมข้นๆ
หลีกเลี่ยง การแปรงฟันเข้าไปในช่องปากลึกเกินไป
ควรรับประทานอ่อน เช่น โจ๊ก ข้าวต้ม ไม่ควรรับประทานอาหารแข็ง ร้อน หรือรสจัด
กล่องเสียงและหลอดลมอักเสบเฉียบพลัน
(Acute laryngotracheobronchitis, viral croup)
viral croup เป็นโรคที่เกิดจากการติดเชื้อของทางเดินหายใจ
เช่น
ไวรัส
ได้แก่ parainfluenzaviruses(type1-3)
แบคทีเรีย
ได้แก่ Mycoplasma pneumoniae แต่อาการไม่รุนแรง
พยาธิสภาพ
การอักเสบและบวมของกล่องเสียงเป็นต้น
สง่ผลทำให้เกิดภาวะอุดกั้นของทางเดินหายใจส่วนบนแบบ เฉียบพลัน
อาการ
ผู้ป่วยจะไอเสียงก้อง (barking cough)
หายใจไดเยินเสียงstridor
มักไม่ตอบสนองต่อการพ่นยาทั่วไป
พ่นยาAdrenaline
ตําแหน่ง ใต้กล่องเสียง (Subglottic region ) Larynx ที่เกี่ยวข้องกับการเกิด viral Croup