Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
อนามัยสิ่งแวดล้อม ในชุมชน, image, image, image, นางสาวปิยะวดี ไชยนุ…
อนามัยสิ่งแวดล้อม ในชุมชน
ความหมาย
อนามัยสิ่งแวดล้อม คือ องค์ประกอบด้านต่างๆ และคุณภาพชีวิตของมนุษย์ที่ถูกกําหนด โดยปัจจัยด้าน
สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ เคมีชีวภาพ สังคม และจิตวิทยา
สิ่งแวดล้อม สิ่งที่อยู่รอบตัวเรา สามารถสัมผัสจับต้องได้
อนามัย คือ ภาวะที่สุขภาพสมบูรณ์ทั้งร่างกายและจิตใจ
การจัดการอนามัย
จัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนและในชุมชน
จัดการส้วมและสิ่งปฏิกูล
จัดการบ้านให้สะอาด
สุขาภิบาลอาหารและการควบคุมคุณภาพในการบริโภค
จัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมในพื้นที่พิเศษ หรือพื้นที่เสี่ยง
ปัจจัยเสี่ยงด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม
การบริโภคนำ้ที่ไม่สะอาด การสุขาภิบาล
การจัดบ้านที่ไม่สะอาด
มลพิษทางอากาศจากยานพาหนะ
การได้รับการสัมผัสสารพิษ
การเปลี่ยนแปลงทางสภาพอากาศ
การจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนและชุมชน
ประเภท
ขยะรีไซเคิล
ขยะย่อยสลายได้
ขยะพิษ
ขยะทั่วไป
ขยะติดเชื้อ
ผลกระทบต่อสุขภาพ
เกิดความสกปก
เกิดแหล่งนำ้เน่าเสีย
แหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรค
เกิดการปนเปื้อนสู่สิ่งแวดล้อม
เกิดการเปลี่ยนแปลงทางภูมิอาการ
หลักการกําจัดขยะ
เผา
การฝัง
นําขยะไปเลี้ยงสัตว์
การหมักปุ๋ย
แนวทางการจดการขยะ
ลดปริมาณ ลดการใช้ นำกลับมาใช้ใหม่ รีไซเคิล
การคัดแยก ขยะรีไซเคิล ขยะอินทรีย์ ขยะอันตราย
การจัดการส้วมที่ถูกสุขลักษณะ
ประเภท
ส้วมหลุม
ส้วมเท
ส้วมถังเกรอะ
ส้วมเคมี
ส้วมซึม
สถานที่เหมาะสม
ห่างจากแหล่งนำ้กิน นำ้ใช้ ไม่น้อยกว่า 30 เมตร
ส้วมที่มีระบบซึมนำ้ออกควร ควรอยู่สูงกว่าระดับนำ้ใต้ดิน อย่างน้อย 3 เมตร
การสุขาภิบาลอาหาร
การล้างมือ เพื่อไม่ให้เป็นสื่อนำเชื้อโรค
การใช้ช้อนกลาง ป้องกันโรคติดต่อต่างๆ เช่น ไข้หวัดใหญ่ คอตีบ คางทูม
การล้างผักเพื่อลดสารพิษ ควรล้างนานเกิน 2 นาที
กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ
การควบคุมปัจจัยที่เกี่ยงข้อง
ภาชนะอุปกรณ์
สถานที่
อาหาร
สัตว์แมลงและโรค
ผู้สัมผัสอาหาร
ประเภทของสาธารณภัย
หมอกควัน
ภัยร้อน
ภัยแล้ง
นำ้ท่วม
แผ่นดินไหว
นางสาวปิยะวดี ไชยนุ เลขที่29 รหัสนักึกษา 61128301030
25 มีนาคม 2564