Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
PIH ( Pregnancy-induced Hypertention ) ภาวะความดันโลหิตสูงจากการตั้งครรภ…
PIH ( Pregnancy-induced Hypertention ) ภาวะความดันโลหิตสูงจากการตั้งครรภ์
การรักษา
การรักษา Mild PIH
วัด BP ทุก 6 ชม.
เก็บปัสสาวะตลอด 24 ชม. ตรวจหาโปรตีน ( ควรหาอย่างน้อย 3 วัน )
ชั่งน้ำหนักทุก 2 วัน
ทดสอบการทำงานของไต ( ระดับ Creatinine )
Bed rest
ประเมินอายุครรภ์ของทารก และตรวจติดตามสุขภาพทารกในครรภ์ โดยการนับลูกดิ้นอย่างถูกวิธี
ซักประวัติ ตรวจร่างกาย ติดตามอาการและอาการแสดงของ PIH
รับประทานอาหารธรรมดา บันทึก I/O ในแต่ละวัน
รับไว้ในโรงพยาบาลทุกราย
พิจารณาให้ยุติการตั้งครรภ์ กรณีควบคุมอาการและอาการแสดงของโรคไม่ได้ อายุครรภ์มากกว่า 37 สัปดาห์แล้ว
การรักษา Severe PIH
ชักนำการคลอด
เจาะถุงน้ำคร่ำหากสามารถทำได้
ให้ Oxytocin กรณีปากมดลูกพร้อม
ให้ Prostagrandin เช่น misoprostol 25 มก. ทางช่องคลอด กรณีที่ปากมดลูกไม่พร้อม
พิจารณาช่วยคลอดในระยะที่สองตามความเหมาะสม
ประเมิน FHS
ลดความดันโลหิต ร่วมกับการให้ยา
Nifedipine เช่น adalat , nelapine 10 mg sublingual
Nifedipine เช่น nifecard 10 mg Oral
การเฝ้าระวัง
วัด BP ทุก 5 นาทีหลังได้รับยา
หาก BP ไม่ลดลงภายใน 30 นาที
พิจารณาให้ยาลดความดันโลหิตซ้ำ ( ขนาดยาสูงไม่เกิน 40 Mg
ปรับให้ BP อยู่ในช่วง 140/90 - 155/105 mmHg
Hydralazine ให้ครั้งแรก 5 มก. ฉีดเข้าหลอดเลือดดำ
การเฝ้าระวัง
วัด BP ทุก 5 นาที
หลัง ฉีดแล้ว หาก /จ นาที หาก diastolic > 110
ให้ซ้ำได้อีก 10 มก.
ระวังไม่ให้ doastolic ต่ำกว่า 90 มม.ปรอท
ควบคุมความสมดุลของสารน้ำและอิเล็กโทรไลต์
ป้องกันการชัก
ให้ MgSO4 ----> 4 g ในสารละลาย 20% IV ด้วยอัตราไม่เกิน 1 กรัมต่อนาที
หยุดให้ MgSO4 เมื่อ
pattelar reflex หายไป
RR < 12-14 ครั้งต่อนาที
ปัสสาวะออกน้อย่วา 24 มล.ต่อขม.
หยุดให้ MgSO4 เมื่อให้ครบ 24 ชม.หลังคลอด
ป้องกันภาวะแทรกซ้อน
การดูแลทั่วไป
ความหมาย
การที่มี BP > หรือเท่ากับ 140/90 mmHg และมีโปรตีนรั่วในปัสสาวะ อาจจะมีหรือไม่มีบวมก็ได้
ปัจจัยเสี่ยง
สตรีตั้งครรภ์เคยมีประวัติครรภ์เป็นพิษครั้งก่อน
สตรีที่มีญาติพี่น้องสายตรงมีภาวะความดันโลหืตสูงขณะตั้งครรภ์
Last para > 10 ปี
มีโรคประจำตัวก่อนตั้งครภ์ เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไตเรื้อรัง โรคลูปัส โรค SLE
ตั้งครรภ์ที่อายุน้อยกว่า 18 ปี หรือมากกว่า 35 ปี
ตั้งครรภ์แฝด
ครรภ์แรก
ชนิด
Mild Preelcampsia
มีโปรตีนในปัสสาวะร่วมด้วย
BP > 140/90 mmHg
มีอาการบวมร่วมด้วย
Severe Preelcampsia
Microangiopathic hemolysis
เกล็ดเลือดต่ำ
น้ำคั่งในปอด
การทำงานของตับผิดปกติ
ชักแบบ grand mal
ปัสสาวะออกน้อย ( < 500 / 24 ชม. )
โปรตีนในปัสสาวะมากกว่า 5 กรัม / 24 ชม. หรือ 3+ หรือมากกว่า โดยการเก็บห่างกันอย่างน้อย 4 ชม.
BP > 160/110 mmHg จากขณะพักซึ่งวัดอย่างน้อย 2 ครั้งที่ห่างกันไม่น้อยกว่า 6 ชม.
ภาวะทารกโตช้าในครรภ์และน้ำคร่ำน้อย
ข้อบ่งชี้ถึงการรักษาที่ได้ผล
ปัสสาวะออกปกติดี
ปริมาณโปรตีนในปัสสาวะไม่ออกมากขึ้น
ควบคุมความดันโลหิตได้ดี
ไม่มีอาการหรืออาการแสดงที่เกิดขึ้น
ควบคุมน้ำหนักได้ดี
อาการ
ความดันโลหิตสูง
เกล็ดเลือดต่ำ
ปวดหัวตลอดเวลา
การทำงานของตับผิดปกติ
มีโปรตีนในปัสสาวะ
ปัสสาวะออกลดลง
การมองเห็นเปลี่ยนแปลงไป
ปวดบริเวณลิ้นปี่
หายใจลำบาก
คลื่นไส้อาเจียนในช่วงไตรมาสที่ 2
ประเภท
Preeclampsia
BP ตั้งแต่ 140/90 mmHg ครั้งแรกขณะตั้งครรภ์
มีโปรตีนในปัสสาวะ ( 300 มก. ต่อ 24 ชม. )
Eclammpsia
ภาวะชัก หาสาเหตุอื่นๆไม่ได้
Gestationl hypertention
BP สูงตั้งแต่ 140/90 mmHg
พบครั้งแรกของการตั้งครรภ์
ไม่มีโปรตีนในปัสสาวะ
ติดตามหลังคลอด 12 สัปดาห์ BP ลดลงเป็นปกติ
Chronic hypertention
BP สูง พบก่อนการตั้งครรภ์ หรือ ก่อนอายุครรภ์ 20 สัปดาห์
BP ยังสูงนานกว่า 12 สัปดาห์หลังคลอด