Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ ๔ การออกแบบการวิจัยทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร - Coggle Diagram
หน่วยที่ ๔ การออกแบบการวิจัยทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
แนวคิดการออกแบบการวิจัย
บทนำ
ความหมาย
การกำหนดวิธีการวิจัย เพื่อให้ได้มาซึ่งคำตอบที่ถูกต้อง
ความสำคัญ
ทำให้เกิดการศึกษาที่เป็นไปตามต้องการ
ช่วยลดความไม่ถูกต้อง
ช่วยให้ผู้วิจัยมีความน่าเชื่อถือ
ช่วยในการรวบรวบข้อมูล/อุปกรณ์ในการวิจัย
เป็นแนวทางที่ถูกต้อง
ขจัดอคติ/ข้อผิดพลาด
เกิดความน่าเชื่อถือ
เป็นรากฐานสำหรับความพยายามวิจัย
คาดการข้อบกพร่องได้
เกิดการเรียนรู้
ลักษณะแบบการวิจัย
ประเภท
การเลือกแบบการวิจัย
การออกแบบการวิจัยเชิงปริมาณ
แบบการวิจัยเชิงสำรวจ
ลักษณะเด่น
สุ่มตัวอย่างประชากรเป้าหมาย
เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถาม/สัมภาษณ์
มีการออกแบบเครื่องมือในการเก็บข้อมูล
มีการตอบรับจากผู้ตอบเป็นจำนวนมาก
การจำแนก
แบบภาคต่อขวาง
แบบระยะยาวต่อเนื่อง
แบบการวิจัยเชิงทดลอง
การสุ่มแบบสมบูรณ์
การควบคุมตัวแปรภายนอก
การจัดการตัวแปรที่สนใจ
วัดผลที่เกิดขึ้น
การเปรียบเทียบระหว่างกลุ่ม
คำนึงถึงมีความถูกต้อง
แบบวิจัยเชิงสหสัมพันธ์
การจำแนก
วิจัยเชิงอธิบาย
วิจัยเชิงทำนาย
ลักษณะเด่น
อธิบายความสัมพันธ์ของตัวแปร
ทำนายผลลัพธ์จากตัวแปร โดนใช้สถิติ
การออกแบบวิจัยเชิงคุณภาพ
แบบการวิจัยการสร้างทฤษฎีจากข้อมูล
The systematic design
the contructivist design
The emerging design
แบบการวิจัยเชิงชาติพันธุ์วรรณนา
Realist ethongraphies
Case Studies
Critical ethongraphies
แบบการวิจัยจากข้อมูลเล่าเรื่อง
ใครเขียน
ระยะเวลาในการนำเสนอ
ใครเป้นคนเล่าเรื่อง
ใช้ทฤษฎีเป็นกรอบในการอธิบายหรือไม่
ใช้หลายแบบการวิจัยรวมกันได้มั้ย
การออกแบบการวิจัยแบบผสมผสานวิธีทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
แบบการวิจัยแบบผสมผสาน
ให้ความสำคัญกับแหล่งข้อมูลเชิงปริมาณ+คุณภาพ
ผู้เก็บรวบรวมข้อมูลเชิงปริมาณ/คุณภาพ
ผู้วิจัยเปรียบเทียบผลวิเคราะห์สอดคล้องกัน
แบบการวิจัยเชิงปฏิบัติการ
กระตุ้นให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
สร้างเสริมความสามารถ
เป็นกระบวนการทดสอบแนวคิดใหม่
ลดช่องว่างระหว่างงานวิจัย+ปฏิบัติจริง
เติมเต็มบทบาทของนักวิจัย