Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 13/2พยาธิสรีรวิทยา ระบบภูมิคุ้มกัน Immunology system, นางสาวนาซูฮา…
บทที่ 13/2พยาธิสรีรวิทยา ระบบภูมิคุ้มกัน
Immunology system
Immunoglobulins
IgA
หน้าที่ป้องกัน Ag มาเกาะเยื่อบุผิว พบน้ำนมเหลืองของมารดาและเลือด
IgM
เป็นตัวแรกตอบสนองต่อ bacteria gram negative พบในนมของมารดา
IgG
ตัวกระตุ้นการสร้าง complement และช่วยจับ Agให้เม็ดเลือดขาวจับกินแบบ ADCC
กำจัดสิ่งแปลกปลอมออกจากร่างกาย
CMIR อาศัย T-lymphocyte and macrophage
Class of Lymphocyte
Class 1(T8-Lymphocytes)
Cytototoxic
Suppressor
Class 2 (T4-Lymphocytes)
Helper
Inducer
การตอบสนองชนิดพึ่งเซลล์ CMIR
เซลล์ Macrophage จะกินจุลินทรีย์เข้าไปข้างในเซลล์
เปลี่บนเป็น antigen presenting cell
กระตุ้น Helper T cellหรือ CD4 ทำงานร่วมกับ NK cell
กระตุ้นเม็ดเลือดขาวทั้ง macrophage และ granulocytes ให้จับกินเชื้อโรค สามารถหลั่งสาร cytokine
กลุ่มโปรตีนที่ทำงานฆ่าเชื้อโรค
• C3a, C5a กระตุ้นบริเวณนั้นเกิดการอักเสบ
C6,C7,C8,C9 โดย C9 เป็นตัวเจาะรู ทำให้เซลล์เกิดการแตก
โรคที่เกี่ยวข้องกับระบบภูมิคุ้มกัน
ภูมิแพ้ โรคหืด
โรคภูมิต้านทานเนื้อเยื่อตนเอง เช่น SLE,Rhumatoid,ข้ออักเสบ,สะเก็ดเงิน
โรคเบาหวาน
โรคภูคุ้มกันต่ำ
ภาวะภูมิแพ้
Hypersensitivity
Immediate hypersensitivity ระยะเวลาถ่ายทอดสั้น อาศัยซีรั่ม พบใน Hypersensitivity I-III
Delayed hypersensitivity อาศัยการถ่ายทอดผ่านลิมโฟไซต์ พบใน hypersensitivity type IV
Type I Hypersensitivity
สารก่อภูมิแพ้ (Allergen) เช่น ฝุ่น ยา อาหาร เกสรดอกไม้
Type II Hypersensitivity
เช่น การที่เลือดแม่กับลูกไม่เข้ากัน การปฏิเสธการปลูกถ่ายอวัยวะ
Type III Hypersensitivity
เกิดจากยา ซีรั่มแก้พิษงู เชื้อจุลินทรีย์วัคซีนแอนติเจนของตัวเองในผู้ที่มีภูมิคุ้มกันต่อต้านตนเอง แบบแอนติบอดีที่เกิดเป็นชนิด IgG
เกิดได้ใน 3 กรณี
กรณีมีการติดเชื้อแล้วเกิด antigen antibody complex
เช่น การติดเชื้อมาลาเรีย การติดเชื้อไวรัสไข้เลือดออก
2.มีภาวะภูมิแพ้ต่อตัวเอง
เช่น ผู้ป่วยโรค SLE
3.ผู้ที่ได้รับแอนติเจนปริมาณมาก
เช่น ผู้ที่ถูกงูกัด และได้รับซีรั่มแก้พิษงูจากม้าจะเกิดการแพ้ เรียกว่า serum sickness
Type IV Hypersensitivity
เช่น การแพ้สารเคมี ที่ผิวหนัง
เป็น delayed type hypersensitivity หรือภาวะภูมิแพ้แบบช้าเซลล์ที่เกี่ยวข้องคือ T-effector
นางสาวนาซูฮา แซแอ 634N46219