Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผลของการประกันสุขภาพ การให้บริการทางด้านสุขภาพ - Coggle Diagram
ผลของการประกันสุขภาพ การให้บริการทางด้านสุขภาพ
1.ผลของการประกันสุขภาพต่อนโยบายเศรฐกิจสังคมและการเมือง
ผลของการประกันสุขภาพต่อนโยบายเศรษฐกิจ
ปัจจัยที่มีผลต่อสมดุลทางการเงิน
ปัจจัยด้านประชากรและกำลัง
ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ
ต้องคำนึงถึง ได้แก่ การจ้างงาน ระดับรายได้ การเปลี่ยนแปลงราคา อัตราดอกเบี้ยและผลตอบแทนการลงทุน
ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อสถานะสุขภาพ
การเปลี่ยนแปลงสาเหตุการป่วย สาเหตุการตาย ความเพียงพอต่อสถานบริการและบุคคลากร
ปัจจัยด้านอภิบาลระบบ
ข้อกำหนดในกฎหมายว่าจะครอบคลุมสิทธิประโยชน์อะไรบ้าง เงื่อนไขอะไรบ้าง
ทิศทางด้านการคลัง
ค่าใช้จ่ายบริการสาธารณสุขในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติมีแนวโน้มสูงขึ้นอีกเนื่องจากปัจจุบัญประชาชนบางส่วนยังไม่เข้าถึงบริการได้เต็มที่
จัดบริการปฐมภูมิมีประสิทธิภาะและระบบส่งต่อที่เหมาะสม การป้องกันการเกิดโรค
ประเทศไทยยังอยู่ในช่วงการพัฒนาคุณภาพบริการ
ประเทศไทยยังมีค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพเปรีบเทียบกับผลผลิตมวลรวมของประเทศยังต่ำอยู่
การปรับเพิ่มภาษีและการปริการวิธีการจัดเก็บเงินสมทบประกันสังคม
ผลกระทบต่อเศรษฐกิจมหภาค
ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าทำให้แบบแผนการบริโภคเปลี่ยนไป
ส่งผลต่อการลดรายจ่ายภาคครัวเรือนเพื่อการดูแลสุขภาพ
ลงทุนด้านสุขภาพของภาครัฐในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าที่เพิ่มขึ้น ไม่ส่งผลกระทบเชิงลบอย่างมีนัยสำคัญกับรายจ่ายภาครัฐ
ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้ามีผลกระทบอย่างมีนัยสำคัญต่อกิจกรรมการผลิตทางการแพทย์ในประเทศไทย
สินต้า ยาและเวชภัณฑ์มากขึ้น
ผลของการประกันสุขภาพต่อสังคม
ประชาชนต้องกาให้รัฐควรจัดสวัสดิการสังคมให้คนทุกคนเหมือนกันแบบถ้วนหน้า
ความมั่นคงทางรายได้ พฤติกรรมสุขภาพเป็น ปัจจัยทางสังคมที่มีผลต่อสุขภาพ
จำนวนครัวเรือนที่ประสบความยากจนจากค่าใช้จจ่ายด้านการรักษาพยาบาลของแต่ละจังหวัดมีสัดส่วนลดลง
ปัญหาความเหลื่อมล้ำระหว่างพื้นที่ในการเข้าถึงบริการสาธารณสุขไม่ได้ลดลง
ทราบสถานการณืค่าใช้จ่ายในการดูแลสุขภาพเพื่อการเตรียมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ
ผลของการประกันสุขภาพต่อการเมือง
เกิดนโยบายประชานิยม ในลักษณะรัฐสวัสดิการในด้านอื่นเพิ่มมากขึ้น
การจ่ายเกงินเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ นโยบายเรียนฟรี 12 ปี การจัดตั้งกองทุนออมแห่งชาติดดยรัฐจ่ายเงินสมทบ
เกิดการกระจายอำนาจให้สำนักงานสาขาเขตพื้นที่
ปัจจุบันมีทั้งหมด 13 เขต แล้ว
เกิดการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่นโดยการสนับสนุนและประสานงานกับองค์กรปกครองท้องถิ่นในการเป้นผู้ดำเนินการและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
ผลของการประกันสุขภาพต่อการให้บริการสุขภาพ
เกิดระบบบริการสาธารณสุขในแบบเศรษฐศาสตร์
สมรรถนะการให้บริการสาธารณสุขโดยรวมก็มีแนวโน้มที่ดี
เพิ่มการให้บริการสาธารณะสุขบางประเภทที่มีราคาแพงได้
ลดความเหลื่อมล้ำในการเข้าถึงนวัตกรรม
อัตราการเข้านอนโรงพยาบาลไม่จำป็นสูงขึ้น
เกิดการปฏิรูประบบบริการปฐมภูมิ
ผลของการประกันสุขภาพต่อประชาชน
ช่วยสนับสนุนการเท่าเทียมด้านสุขภาพ
ประชาชนยินดีจ่ายค่าภาษีมูลค่าเพิ่ม
เกิดความเท่าเทียมในการเข้าถึงบริการ
ลดความเสี่ยงในการไม่ดูแลรับษาสุขภาพแบบใดๆของประชาชน
ลดความเสี่ยงในการเลือกรักษาพยาบาลแบบไม่เป็นทางการของประชาชน
ผู้ป่วยเรื้อรังสามารถคัดกรองโรค รักษา เข้าถึงบริการและควบคุมโรคได้มากขึ้น
ประชาชนที่เป็นโรคแต่ควบคุมไม่ได้ มีสัดส่วนและจำนวนสูงมากขึ้น
สถานพยาบาลเอกชนเข้าร่วมระบบจ่ายเงิน ทำให้มีปัญหาการละเมิดสิทธิประชาชนผู้ผู้ประกันตนหรือผู้มีสิทธิบ่อยครั้ง
ผลของการประกันสุขภาพต่อหน่อยบริการและบุคลากร
ขาดแคลนคนในทุกสาขาวิชาชีพสุขภาพ
ระบบการจ่ายเงินให้สถานพยาบาลเอกชนเข้าร่วมให้บริการไม่สามารถแก้ปัญหาการขาดแคลนบุคลากรวิชาชีพสุขภาพในชนบทได้
การแบ่งอำนาจให้แก่สำนักงานสาขาหรือเขตบริการสุขภาพสาธารณสุข อาจก่อให้เกิดปัญหาความไม่เท่าเทียสมได้
ลดการใช้บริการจากโรงพยาบาลในระดับจังหวัด
เกิดภาวะขาดแคลนบุคลากรในสถานพยาบาลภาครัฐ
อ้างอิง
1.ณัฏยาณี บุญทองคำ,สุเทพ ดีเยี่ยม. ผลของการประกันต่อรถบบสุขภาพ การให้บริการทางด้านสุขภาพ[ออนไลน์].2563. [เข้าถึงเมื่อ 19 มีนาคม 2544]. เข้าถึงได้จาก
https://bit.ly.3tHvyx4