Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
GI (CA esophagus, peritonitis, gastric ulcer, peptic ulcer,…
GI
CA esophagus
ปัจจัยเสี่ยง
1.การสูบบุหรี่
2.การดื่มเหล้า
3.ไนโตรซามีน
4.เส้นใยหิน
5.ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม
ปัจจัยที่จะเพิ่มความเสี่ยงในการเป็น
เป็นโรคกรดไหลย้อนเรื อรัง (gastro-esophageal reflux disease (GERD))
มีภาวะน้ำหนักเกิน หรืออ้วน
รับประทานอาหารที่ไม่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ และมีผักและผลไม้ปริมาณน้อย
อาการและอาการแสดง
•อาการจะแสดงเมื่อหลอดอาหารลีบตีบตัน ทำให้มีอาการกลืนลำบาก
•มีความรู้สึกว่ามีอาการติดที่คอหรือลิ้นปี่
•มักมีอาการอาเจียนร่วมด้วย
•จะผอม ซีด จากการขาดอาหาร
•ถ้าเป็นมากหลอดอาหารจะทะลุเข้าหลอดลมทำให้ผู้ป่วยไอและสำลักอาหารได้
•อาจมีเสียงแหบและคลำพบก้อนที่คอได้
การวินิจฉัยโรค
การทำ Barium Swallow บอกตำแหน่งพยาธิสภาพว่าอยู่ในส่วนในของหลอดอาหาร
การทำ esophago scope จะเห็นรอยตีบของหลอดอาหาร ซึ่งมีลักษณะขรุขระ และตัดชิ้นเนื้อส่งตรวจ
การทำ CT scan และbronchoscopy ช่วยบอกอาการลุกลามของโรคได้
วิธีการรักษา
การรักษามะเร็งหลอดอาหาร มีวิธีการหลัก 3 วิธีคือ
•การผ่าตัด
•การฉายรังสี
•เคมีบำบัด
การพยาบาลหลังผ่าตัด
1. การดูแลระบบการทำงานของสายยางที่ต่อจากช่องอก (chest drain system)
และสายยางที่ต่อมาจากกระเพาะอาหารโดยผ่านทางจมูกหรือออกจากกระเพาะอาหารผ่านทางหน้าท้อง โดยทำให้อยู่ในตำแหน่งที่ถูกต้อง มีการระบายที่มีประสิทธิภาพและสังเกตลักษณะของเหลวที่ออกมา
2. การดูแลให้ผู้ป่วยได้รับอาหารและน้ำอย่างเพียงพอทางหลอดเลือดดำ
ต้องสังเกตอาการ เช่น ลักษณะการหายใจลำบาก เจ็บหน้าอก เพราะรอยผ่าตัดอาจมีรูรั่ว
ผู้ป่วยที่ทำ Gastrostomy
ควรดูแลผิวหนังและการได้รับสารอาหารและน้ำที่เหมาะสม ถ้าผู้ป่วยกลับบ้านสอนให้ผู้ป่วยและญาติให้อาหารทางสายยางด้วยตนเอง
การให้อาหารทางสายส่วนกระเพาะอาหาร
นม
อาจเป็นชนิดบรรจุในภาชนะสำเร็จรูปพร้อมใช้ หรือนมผสมที่ชงเอง
2.
อาหารปั่นเหลว
ซึ่งเตรียมเองที่บ้าน ควรใช้สัดส่วนอาหารที่ผสมกันตามสูตร ที่แนะนำ
การจัดท่าผู้ป่วยขณะให้อาหาร
• ให้ผู้ป่วยนอนศีรษะสูง 30-45 องศาหรือให้นั่งเก้าอี หรือพิงเตียง
• ควรให้อยู่ ในท่าศีรษะสูง หลังให้อาหารเสร็จอย่างน้อย 30-60 นาที
peritonitis
สาเหตุ
•การเกิดแผลของอวัยวะภายในช่องท้องจนทะลุเข้าไปในช่องท้อง เช่น กระเพาะอาหารหรือลำไส้เล็กเป็นแผลทะลุ การถูกแทง
•อาจเกิดจากเทคนิคการปลอดเชื้อไม่ดีระหว่างการผ่าตัดช่องท้อง ทำให้เกิดการติดเชื้อได้
•การล้างไตทางหน้าท้อง
•แบคทีเรียชนิดเกิดขึ้นเอง (spontaneous bacteria peritonitis)ซึ่งพบได้บ่อยในผู้ป่วย โรคตับแข็ง (cirrhosis)
ภาวะแทรกซ้อนของโรค
•ภาวะช็อก เปนผลมาจากการติดเชื้อในกระแสเลือด septicemia
•ภาวะ hypovolemia เนื่องจากสารน้ำในหลอดเลือดเคลื่อนตัวเขาสู่ช่องท้อง
•การติดเชื้อ
การรักษา
1)การให้สารน้ำทดแทน
2)บรรเทาอาการปวดการอาเจียน
3)การใส่สายยางทางเดินอาหารและต่อระบบดูดสุญญากาศ เพื่อลดการยืดขยายของลำไส้
4)สงเสริมให้ออกซิเจนอย่างเพียงพอต่อร่างกาย
5) ยาปฏิชีวนะตามกลุ่มเชื้อ
6) การผ่าตัด
การพยาบาล ภาวะติดเชื้อในร่างกาย
1)ติดตามและวัดสัญญาณชีพของผู้ป่วย
2)ประเมินหน้าที่ของระบบทางเดินทางอาหาร (GI function)
4)ใส่สายยางระบายทางเดินอาหารและตอเครื่องดูดสุญญากาศ
3)งดน้ำอาหารและยาทางปากทุกชนิด
5)ดูแลให้ปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
การพยาบาลหลังผ่าตัด 24 ชั่วโมงแรก
•ปัญหาการติดเชื้อเพิ่มเติม
•เรื่องการดูแลความสะอาดแผลผ่าตัด
•ปัญหาปวดแผล
•ปัญหาภาวะขาดน้ำและอิเล็กโทรไลต์ไม่สมดุล
•ภาวะช็อกจากการเสียน้ำและเลือดหลังผ่าตัด
•การพยาบาลเช่นเดียวกับก่อนผ่าตัด
ภาวะแทรกซ้อนหลังผาตัด
•อาการทองอืด
•ภาวะปอดแฟบและปอดอักเสบ
gastric ulcer
อาการ
แสบร้อนบริเวณทรวงอกเป็นความรู้สึกแสบหรือร้อนคลายไฟลนที่บริเวณลิ้น
บริเวณกลางทรวงอก (Heart burn, pyrosis)
ถ้ามีอาการมากความรู้สึกนี้จะลามไปถึงคอ
อาการเรอเปรี้ยว (Wet burb)
สาเหตุ
เกิดจากความผิดปกติในสมรรถภาพของกลามเนื้อหูรูดของหลอดอาหารส่วนปลายปิดไม่สนิท (Lower Esophageal Sphincter LES)
ปัจจัยเสี่ยงตอการเกิด GERD
•รับประทานไม่ตรงเวลา รับประทานอาหารแล้วนอน หรือนั่งเอนหลังรับประทานอาหาร
•การตั้งครรภ์ โดยเฉพาะไตรมาสที่ 3 มดลูกจะโตเพิ่มความดันในช่องท้อง
•ความอ้วน
•ผู้ปวยที่ไอเรื้อรัง เช่น หอบหืด
•การใช้ยา NSAIDs
•การใส่เสื้อผ้าคับรัดโดยเฉพาะช่วงหน้าท้อง
•การสูบบุหรี่
การรักษา
•การรักษาทางยา ในกลุ่ม Proton pump inhibitor เช่น omeprazone dexlansoprazole
•การรักษาด้วยการผ่าตัด
การพยาบาล
-หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารทอด ๆ หรือมัน ๆ เพราะไปลด tone ของหูรูด
-ไม่ให้ปล่อยให้หิวหรือรับประทานมากจนอิ่มเกินไป
-หลีกเลี่ยงอาหารที่มีกระตุ้นการหลั่งกรด เช่น พริกไทยดำ เครื่องดื่มรสเปรี้ยว ดื่มเครื่องดื่มอัดลม แอลกอฮอล์ เครื่องดื่มที่มีคาเฟอีน ช็อกโกแลต
peptic ulcer
gastric ulcer: GU
สาเหตุการมีแผลในกระเพาะอาหาร
การเสียสมดุลระหว่างปจจัยที่ท้าใหเกิดการหลั่งกรด (aggressive factor)
กรรมพันธุ์
แบคทีเรีย (Helicobactor pylori) ทำให้เกิดแผลขึ้น
การดื่มแอลกอฮอล
การสูบบุหรี่
การใช้ยากลุ่ม NSAIDs
duodenal ulcer : DU
ภาวะแทรกซ้อนแผลในระบบทางเดินอาหาร (peptic ulcer)
Hemorrhage
พบได้ทั้ง DU และ GU โดยเฉพาะ gastric ulcer พบมากในผู้สูงอายุผู้ป่วยอาจ ซีด จากภาวะขาดเหล็กเนื่องจากมีเลือดออกทีละน้อย หรือบางรายมีเลือดออกเป็นจำนวนมากและเรื้อรัง อาเจียนเป็นเลือด ถ่ายอุจจาระเป็นสีดำ(melena) หรือ ถ่ายเป็นเลือดสด
Perforation
เป็นการแตกทะลุของผนัง
กระเพาะอาหารหรือดูโอดินั่ม
3.
Obstruction
การมีลำไส้อุดตัน
โดยเฉพาะส่วนของ pyloric
การรักษา
1.Gastric lavage เพื่อล้างเอาเลือดที่ค้างอยู่ในกระเพาะออก
2.การให้ยา
3.การรักษาผ่าน endoscope เช่น จี้ จุดเลือดออก
4.การรักษาด้วยการผ่าตัด
การรักษาโดยการผ่าตัด การผ่าตัดที่พบบอย
•Subtotal gastractomy with Gastroduodenostomy
(Billoth 1)
การผ่าตัดกระเพาะอาหารส่วนล้างออกบางส่วนและเย็บต่อเข้ากับลำไสเล็กส่วนต้น (duodenum)
•Subtotal gastractomy with Gastrojejunostomy
(Billoth 2)
การผ่าตัดกระเพาะอาหารส่วนล้างออกบางส่วน และเย็บต่อเข้ากับลำไสเล็กส่วนกลาง (jejunum) ส่วน duodenum เย็บเป็นstump ไว้
•Vagotomy
การผ่าตัดเส้นประสาท Vagus ที่มาเลี้ยง
กระเพาะอาหารเพื่อลดการหลั่งกรด
การพยาบาล
2) สงเสริมภาวะโภชนาการ จุดประสงคที่ส้าคัญ
คือ ลดการหลั่งกรดและลดการเคลื่อนไหวของลำไส้
•หลีกเลี่ยงอาหารที่กระตุนการหลั่งกรด เช่น
แอลกอฮอล เครื่องดื่มและอาหารที่มีคาเฟอีนรวมทั้งนม อาหารที่มีครีมเป็นส่วนประกอบ
1) บรรเทาอาการเจ็บปวด
3) ป้องกันภาวะแทรกซ้อน
4) ให้คำแนะนำก่อนการกลับบ้าน
การพยาบาล Billoth 1 และ Billoth 2
1) ป้องกันภาวะแทรกซ้อน
2) ส่งเสริมให้ได้รับสารอาหารเพียงพอกับความต้องการของรางกาย
3) แนะนำถึงการปฏิบัติตนเกี่ยวกับการปฏิบัติตนเกี่ยวกับนิสัยในการรับประทานอาหาร เนื่องจาก ภายหลังการผ่าตัดจะทำให้กระเพาะอาหารเล็กลงหรือไมมีกระเพาะอาหารเลย อาหารเคลื่อนลงสู่ลำไส้เร็วขึ้น ทำให้เกิดกลุ่มอาการdumping syndrome ซึ่งมักเกิดขึ้นในการทำผ่าตัด billoroth 2
dumping syndrome
1.early dumping syndrome
เกิดอาการคล้ายจะเป็นลม อาการจะเกิดขึ้นใน 1-2 ชม. หลังอาหาร
2.late dumping syndrome
เกิดจากอาหารที่ลงสู่ลำไส้เล็กอย่างรวดเร็วมีการดูดซึมน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยวเข้าสู่กระแสโลหิตเร็วทำให้น้ำตาลในเลือดสูงกระตุ้นตับอ่อน ให้สร้างinsulin ออกมามากซึ่งเมื่อ insulin ออกมานั้น การดูดซึม
น้ำตาลลดลงแล้ว แต่ระดับ insulin ในเลือดยังสูงอยู่ เป็นผลใหเกิดภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ มักเกิดใน 2-3 ชม. หลังอาหาร แก้ไขโดย ให้รับประทานอาหารหวานเพื่อชวยปรับระดับน้ำตาลในเลือดใหสูงขึ้น
การแก้ไขภาวะ dumping syndrome
หลีกเลี่ยงอาหารคาร์โบไฮเดรต
หลีกเลี่ยงการดื่มน้ำพร้อมอาหาร
แนะนำอาหารประเภทไขมันสูง โปรตีนสูง
รับประทานอาหารครั้งละน้อยๆแต่บ่อยๆ
หลังรับประทานอาหารควรนอนราบอย่างนอย 30 นาที
4) ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการดูแลตนเอง
ระบบทางเดินอาหาร
1. ระบบทางเดินอาหารส่วนบน (Upper GI)
เริ่มตั้งแต่ ปาก หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร
ถึงลำไส้เล็กส่วน Duodenum
2. ระบบทางเดินอาหารส่วนล่าง (Lower GI)
เริ่มตั้งแต่ลำไส้เล็กส่วน jejunum ลำไส้ใหญ่
ถึงทวารหนัก
การตรวจโดยการส่องกล้องเข้าสู่ระบบทางเดินอาหาร
Esophagogastro duodenoscopy (EGD)
การตรวจโดยการใส่เครื่องมือเข้าไปส่องดูความผิดปกติตั้งแต่หลอดอาหารจนถึงลำไส้เล็กส่วนต้น
การพยาบาล
NPO ก่อนตรวจ 8 ชั่วโมง
ดูแลความสะอาดปาก ฟัน และบ้วนปากด้วยน้ำยาบ้วนปาก ถอดฟันปลอม
ให้ premedication ตามแผนการรักษา ส่งผู้ป่วยพร้อมด้วยฟอร์มปรอทและ film X ray
หลังการตรวจอธิบายให้ผู้ป่วยทราบว่าคอจะชาอยู่ประมาณ 1–2 ชม. ตรวจดู Gag reflex ก่อนที่จะให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารเพราะอาจเกิดการสำลักได้
Colonoscopy, Sigmoidoscopy (Lower G.I. endoscopy)
เป็นการตรวจโดยใช้กล้อง fiberoptic ตรวจดูลำไส้ใหญ่ตั้งแต่ anus จนถึง cecum หรือ sigmoid (ตามชื่อที่เรียก) เพื่อวินิจฉัยผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของลำไส้ใหญ่
Endoscopic retrograde cholangiopancreatography
of the biliary duct (ERCP)
เป็นการตรวจโดยการใช้ Fiberoptic endoscopic
Appendicitis
การประเมินปัญหา
•การซักประวัติผู้ป่วยจะมีอาการปวดท้องมากอย่างรุนแรงทันทีทันใด ระยะแรกปวดมวนไม่รุนแรง บอกตำแหน่งไม่ชัดเจน หรืออาจปวดมากรอบสะดือ/ใตลิ้นปี่
•การตรวจร่างกาย กดบริเวณ Mc. Burney, s point แล้วปล่อยมือจะเจ็บ(Rebound Tenderness)
การผ่าตัด
•การผ่าตัดแบบเปิดหน้าท้อง (open appendectomy)
•การผ่าตัดโดยการ สองกล้อง (Laparoscopic appendectomy)
การพยาบาลกอนการผ่าตัด
-งดน้ำและอาหารทางปากทุกชนิดเพื่อสังเกตอาการเปลี่ยนแปลง
-ประเมินอาการปวด จัดท่าศีรษะสูง (high flower, s position)
-ประเมินภาวะติดเชื้อของเยื่อบุช่องท้อง
สังเกตอาการและอาการแสดงของภาวะติดเชื้อของเยื่อบุช่องท้อง
การตกเลือดระบบทางเดินอาหาร
(Gastrointestinal bleeding)
สาเหตุ upper GI bleeding
• แผลในกระเพาะอาหารและสำไสเล็กส่วนต้น
• การอักเสบของผนังเยื่อบุกระเพาะอาหารและเส้นเลือดดำโปงพองบริเวณหลอดอาหาร (esophageal varics)
สาเหตุ lower GI bleeding
• เลือดออกจากริดสีดวงทวาร
• การเกิดการกระทุ้งที่ลำไส้ (diverticuliticular disease)
• ผู้ป่วยมะเร็งลำไส
อาการและอาการแสดง
อาการและอาการแสดงนั้นขึ้นอยู่กับ
ตำแหน่ง
ปริมาณ
อัตราการไหลของเลือด
ภาวะสุขภาพเดิมของผู้ป่วย (underlyingdesease) เช่น ผู้ที่มีปัญหาโรคตับ โรคเลือด หรือภาวะทุพโภชนาการอาจทำให้มีอาการรุนแรงขึ้น
upper GI bleeding
•อาจมีอาเจียนเป็นเลือด (haematemesis)
•การถ่ายอุจจาระเป็นสีดำเหลวเหมือน ยางมะตอย (melena stool)
lower GI bleeding
•มีถ่ายเป็นเลือด
•อาจมีอาการอื่นรวมด้วยได้เช่นกัน
การรักษา
•ให้เลือดและสารน้ำ
•การทำให้เลือดหยุดโดยเร็ว
•วินิจฉัยถึงสาเหตุของการเกิด โดยเร็วเพื่อแก้ไขที่สาเหตุ
•ในรายที่ห้ามเลือดไม่ได้ผลอาจต้องพิจารณารักษาโดยการผ่าตัด
การพยาบาลการตกเลือดระบบทางเดินอาหาร(Gastrointestinal bleeding)
1) ประเมินอาการและอาการแสดงของภาวะช็อก
2) เตรียมการให้เลือดโดยเร็ว
3) การดูแลช่วยเหลือในการห้ามเลือด
4) การดูแลช่วยเหลือในการตรวจวินิจฉัย
5)ให้ยาตามแผนการรักษา
6) เตรียมผู้ป่วยเพื่อการผ่าตัดในรายที่มีอาการบ่งชี้
7) การป้องกันไม่ให้มีการตกเลือดในระบบทางเดินอาหาร
8) เรื่องของการใช้ยา
9) ภาวะเครียด
10) การดื่มสุรา
ตับ ถุงน้ำดี ตับอ่อน
cirrhosis
สาเหตุ
สาเหตุจากแอลกอฮอล์ (alcoholic
cirrhosis) เป็นสาเหตุที่พบบ่อย
สาเหตุจากการติดเชื้อ /อักเสบเรื้อรัง
(necrotic cirrhosis)
สาเหตุที่เกี่ยวข้องกับการอุดตันของท่อน้ำดี
(billiary cirrhosis)
อาการและอาการแสดง
ระยะเริ่มแรก (early stage)
เซลล์ตับถูกทำลายไม่มาก ยังสามารถ
ทำงานได้
มักมีอาการปวดท้อง (abdominal
pain) อาจจะปวดแน่นอึดอัดบริเวณตำแหน่งของตับ
ระยะหลัง (later stage)
เซลล์ตับโตขึ้น (Liver enlargement)
มีการอุดตันของระบบหลอดเลือดพอร์ทัล (portalobstruction and ascites)
ภาวะท้องมาน ascites
การติดเชื้อ (infection and peritonitis)
เลือดออกในทางเดินอาหาร (GI varices)
ซีด
ตัวและตาเหลือง (jaundice)
ภาวะแทรกซ้อนของตับแข็ง (cirrhosis)
ท้องมานและบวม (ascites & edema)**
ความดันปอร์ตัลสูง (portal hypertension) ทำให้มีการตกเลือดในหลอดอาหาร (esophageal varices)**
ซีดเลือดออกง่ายกว่าปกติ (anemia& hemorrhagic tendency)
มีอาการทางสมองเนื่องจากตับวาย (hepatic encephalopathy)
เยื่อบุช่องท้องอักเสบจากแบคทีเรีย (spontaneous bacterial peritonitis)
ไตวาย (hepatorenal syndrome) ไตวายในโรคตับแข็งเกิดจากการได้รับยาขับปัสสาวะ การเจาะเอาน้ำออกทางหน้าท้อง การมีเลือดออกทางเดินอาหาร
กลุ่มอาการทางปอด ( hepatopulmonary syndrome)
อาการทางสมองจากภาวะตับพิการ
( hepatic encephalopathy)
คือ ภาวะที่ผู้ป่วยเกิดมีอาการทางสมอง ได้แก่ สับสน ซึม และโคม่า ซึ่งเป็นผลจากภาวะตับวายเนื่องจากเซลล์ตับเสื่อมสมรรถภาพ
สาเหตุ
อาการทางสมองที่เกิดจากระบบปอร์ตัล (portal-systemic
encephalopathy)
อาการทางสมองที่เกิดจากเซลล์ตับเสียหน้าที่ (hepatocellular failure)
ปัจจัยชักนำ
•การมีเลือดออกในทางเดินอาหาร
• การติดเชื้อ
•ความไม่สมดุลของเกลือแร่
•หลังการผ่าตัดต่อเส้นเลือดปอร์ตัลและวีนาคาวา (porto-caval shunt)
•ยาต่างๆ
•ภาวะขาดออกซิเจน (hypoxia)
•การผ่าตัดและการให้ยาระงับความรู้สึกทั่วตัว
•ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ
•อาหาร อาหารที่มีโปรตีนสูง
•ภาวะท้องผูก
พยาธิสภาพ
แอมโมเนีย (ammonia) โดยปกติตับเปลี่ยนแอมโมเนียให้เป็นยูเรีย(urea) ในเวลาอันรวดเร็ว ในรายที่ตับเสียหน้าที่แอมโมเนียจะไม่ถูกเปลี่ยนให้เป็นยูเรียในตับและจะลัดออกจากตับเข้าไปในกระแสเลือดและในสมอง
นิวโรท๊อกซิน (neurotoxin) ทำให้มีการคั่งของโซเดียม
ภายในเซลล์ส่งผลให้เซลล์สมองส่งสัญญาณต่อไปไม่ได้
การส่งผ่านสัญญาณประสาทไม่ถูกต้อง (false neurotransmitters)
ตัวรับของ gamma-aminobutyric acid และ benzodiazepine
(GABA และ BZ) receptor complex
การดูแลเพื่อลดภาวะแทรกซ้อน
การดูแลเรื่องอาหาร (Diet therapy) เพื่อลด
ปัญหาการขาดอาหาร (malnutrition)
อาหารที่มีแคลอรีสูง (2,500 – 3,000
calories / day) โปรตีนปานกลาง 75gm / day
อาหารควรเป็นไขมันต่ำและจำกัดเกลือ (1,000 –
2,000 mg / day)
อาหารควรเสริมวิตามินและกรดโฟลิค
CA liver
สาเหตุ มะเร็งตับ CA Liver)
ได้รับสารก่อมะเร็ง ได้แก่ Aflatoxin , Nitrosamine
เป็นโรคตับมาก่อน
เป็นโรคตับอักเสบจากเชื้อไวรัสบี
อาการและอาการแสดง
•ปวดท้องตั้งแต่เล็กน้อยจนรุนแรงบริเวณชายโครงขวาอาจร้าวไปที่ไหล่
•คล้ายพบก้อนที่ชายโครงขวาอาจกดเจ็บ
•มีไข้อาจต่ำ/สูง
•ตาและตัวเหลือง
•ท้องมาน บวม
•อาการทางสมอง(HepaticEncephalopathy )
การรักษามะเร็งตับ CA Liver)
ผ่าตัดก้อนมะเร็งออก
ในกรณีที่ไม่สามารถผ่าตัดได้ จะรักษาโดย ทำTOCE ฉีดสารอุดกั้นหลอดเลือด เพื่อลดปริมาณเลือด (ซึ่งก็คือ สารอาหารและออกซิเจน) ที่จะไปเลี้ยงก้อนเนื้อ
Gall stone
•มักไม่พบอาการผิดปกติแสดงให้เห็น
•มักจะตรวจพบโดยบังเอิญจากการตรวจเช็คร่างกายด้วยโรคอื่น
•มีอาการท้องเฟ้อบริเวณเหนือสะดือ เรอ คลื่นไส้ อาเจียนคล้ายอาการ ของอาหารไม่ย่อย ซึ่งมักเป็นหลังกินอาหารมันๆ
•ในรายที่ก้อนนิ่ว เคลื่อนไปอุดในท่อส่งน้ำดี (Bile duct)จะมีอาการปวดบิดรุนแรง เป็นพักๆ ตรงบริเวณใต้ลิ้นปี่หรือใต้ชายโครงขวา
อาการนิ่วในถุงน้ำดี (Gall Stone)
• บางคนอาจปวดรุนแรงจนเหงื่อออก เป็นลม
• อาการปวดท้องมักเป็นหลังกินอาหารมัน หรือกินอาหารมื้อหนัก
• บางคนอาจมีอาการดีซ่าน (ตาเหลือง) เกิดขึ้นตามหลังอาการปวดท้อง
ภาวะแทรกซ้อนนิ่วในถุงน้ำดี (Gall Stone)
ถุงน้ำดีอับเสบ
ตับอ่อนอักเสบ
ถุงน้ำดีอักเสบเฉียบพลัน อาจทำให้เกิดภาวะมีหนองในถุงน้ำดี (Empyema of Gallbladder)
ถุงน้ำดีเน่า (Gangrene of Gallbladder)
ถุงน้ำดีทะลุ
เยื่อบุช่องท้องอักเสบ
ท่อน้ำดีอักเสบ
ปัจจัยเสี่ยงที่ท้าให้เกิดนิ่วในถุงน้ำดี (Gall Stone)
ความอ้วน คนอ้วนจะเกิดนิ่วที่มีโคเลสเตอรอลเนื่องจาก การบีบตัวของถุงน้ำดีลดลง
การได้ฮอร์โมนเอสโตรเจนจากการรับประทานหรือตั้งครรภ์ ทำให้ระดับโคเลสเตอรอลในน้ำดีสูง
การได้ยาลดไขมันบางชนิด ทำให้โคเลสเตอรอลในน้ำดี สูง
ผู้ป่วยโรคเบาหวานที่มีระดับไขมันชนิดไตรกลีเซอไรต์ในเลือดสูงมากๆ
การลดน้ำหนักอย่างรวดเร็ว ทำให้ร่างกายละลายไขมันมากไป
การรักษานิ่วในถุงน้ำดี (Gall Stone)
การผ่าตัด
การผ่าตัดโดยใช้กล้องส่องผ่านทางช่องท้อง
(Laparoscopic cholecystectomy)
CA pancreas
สาเหต
ผู้ที่สูบบุหรี่ มีโอกาสเป็นมะเร็งตับอ่อนมากกว่า
2 – 3 เท่าของคนทั่วไป
ผู้ที่ทำบางอาชีพเสี่ยงต่อการเป็นมะเร็งตับอ่อน
มากขึ้น
พันธุกรรม
อาการ มะเร็งตับอ่อน
(Pancreatic Cancer)
มะเร็งที่หัวของตับอ่อน จะทำให้มีอาการตัว
เหลืองตาเหลืองจากท่อน้ำดีอุดตัน
มะเร็งที่หัวของตับอ่อน จะทำให้มีอาการตัว
เหลืองตาเหลืองจากท่อน้ำดีอุดตันปวดรุนแรงตอนกลางคืน ส่วนใหญ่ปวดตลอดเวลา มากกว่าเป็นๆหายๆ
•น้ำหนักลด
•เบื่ออาหาร
•ภาวะตัวตาเหลือง (ตัวตาเหลืองและปัสสาวะมีสีเข้ม)
•ปวดในท้องส่วนบน
•ปวดหลัง
•อ่อนแรง
•คลื่นไส้และอาเจียน
•10 – 20% มีอาการของโรคเบาหวาน เนื่องจากมะเร็งไปยับยั้งการผลิตอินซูลิน
การรักษา มะเร็งตับอ่อน
(Pancreatic Cancer)
การผ่าตัด
รักษาแบบประคับประคอง
รังสีรักษา
เคมีบำบัด
liver abscess
สาเหตุ
• มักจะมาจากสาเหตุการติดเชื้อในร่างกายโดยเฉพาะระบบทางเดินอาหารแล้วลุกลามต่อไปถึงตับ ซึ่งมักเกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Entamoeba histolytica
• สาเหตุส่งเสริมคือพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกสุขลักษณะ (poor hygiene)
อาการ
ผู้ป่วยที่เป็นฝีในตับ มักไม่มีอาการเด่นชัด
แต่ส่วนใหญ่ที่พบก็จะมีการไข้หนาวสั่น
ปวดที่ชายโครงขวา และกดเจ็บ
บางรายอาจพบอาการเหลือง (jaundice)ซึ่งจะพบในกรณีที่ฝีมีขนาดใหญ่ไปกดท่อน้ำดีหรือเกิดการอักเสบบริเวณถุงน้ำดี(cholangitis)
การรักษาฝีในตับ
(Liver Abscesses)
การเจาะและระบายเอาหนองออก
ให้ยาฆ่าเชื้อ
Procto
ลำไส้ใหญ่อักเสบ (ulcerative colitis)
อาการและอาการแสดง
•อาการถ่ายเหลว
•ปวดท้อง
•มีเลือดออกทางทวารหนัก
•น้ำหนักตัวลดลง
•มีไข้
•อาเจียน
•ขาดน้ำ
•ซีด
การรักษา Inflammatory bowel disease
1.ดูแลให้NPO
2.ให้สารน้ำทดแทนทางหลอดเลือดดำ / ให้สารอาหาร High – protein, high –calorie, vitamin
*
3.แนะนำหลีกเลี่ยงอาหารที่อาจทำให้ถ่ายเหลว เช่น นม
**
4.ให้ยา antidiarrhea, antiperistaltic drugs
การรักษาโดยการผ่าตัด (surgical management)
1.Total colectomy with ileostomy
2.segmental colectomy (removal of segment of the colon) with anastomosis (joining of the remaining portion of the colon)
3.subtotal colectomy (ตัดส่วน colon เกือบหมด) with ileorectal anastomosis (ต่อ ileum กับ rectum)
4.Total colectomy with ileoanal anastomosis แต่ก็มีรายงานว่า มีการกลับเป็นซ้ำอีกหลังผ่าตัด ซึ่งพบได้ ร้อยละ 20 – 40 ภายใน 5 ปี
CA colon anal CA rectum
ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรค
1.อาหารและรูปแบบการใช้ชีวิต
พันธุกรรม
การอักเสบเรื้อรังของล้าไส้
ปัจจัยเสี่ยงอื่นๆ
ปัจจัยซึ่งลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรค
1.การรับประทานผัก ผลไม้ และธัญพืชซึ่งปราศจาก การขัดสี (whole grains)
2.การรับประทานแคลเซียมและวิตามินดีเสริม
3.การใช้ยากลุ่ม NSAIDs เป็นเวลานาน
4.การได้รับฮอร์โมนเอสโตรเจนทดแทนในสตรี
5.การออกกำลังกาย
อาการทางคลินิก
ถ่ายเป็นเลือดสด (hematochezia)
•อุจจาระมีรูปร่างแคบกว่าปกติ
•ถ่ายอุจจาระไม่สุด
•ปวดท้องอย่างรุนแรง (abdominal cramping)
•ความอยากอาหารลดลง
•น้ำหนักลด
การรักษาโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่
(Colon cancer)
•การผ่าตัด
•การให้ยาเคมีบำบัด
•การให้รังสีรักษา
ริดสีดวงทวาร (Hemorrhoids)
• เป็นการขยายของเลือดดำที่รูทวารหนัก
• พบได้บ่อยในคนที่อายุ 50 ปีขึ้นไป
• การเสียดสีของอุจจาระขณะขับถายท้าใหมีการเลื่อนโครงสร้างของผนังรูทวารหนักรวมทั้งเส้นเลือดฝอย
• แรงดันของริดสีดวงทวารจะสูงมากในหญิงตั้งครรภ์
ริดสีดวงทวาร มี 2 ชนิดคือ
ริดสีดวงทวารหูรูดด้านใน (internal Hemorrhoids)
2) ริดสีดวงทวารหูรูดด้านนอก (external Hemorrhoids)
การพยาบาล
1)การดูแลให้บริเวณฝีเย็บและทวารหนักให้สะอาดโดยการแช่ก้นด้วยน้ำอุ่นและซับให้แห้งด้วยผ้าสะอาด หลีกเลี่ยงการใช้กระดาษชำระ เนื่องจากเศษของกระดาษอาจเขาไปติดในแผล เป็นผลให้การติดเชื้อซ้ำ
2)การแช่ก้น (sitz bath) จะช่วยลดอาการปวดได้
แผลฉีกขาดที่ทวารหนัก
(Anal fissure)
•เป็นการฉีกขาดรอยแนวยาว หรือเกิดแผลบริเวณทางเดินของรูทวารหนัก
•มาจากการบาดเจ็บผ่านของวัตถุที่เป็นของแข็งหรืออุจจาระแข็งจากภาวะท้องผูกหรือการ ใช้ยาระบายขนาดสูง
•อาการที่สำคัญขณะขับถ่ายจะปวดมาก แสบและเลือดออก อาจพบเลือดแดงสดติดกับ กระดาษชำระส่วนใหญ่แผลนี้จะหายเอง
การรักษาแบบประคับประคอง
•โดยการรับประทาน อาหารไฟเบอร์สูง
•ใช้ยาระบาย (stool softener) ท้าให้อุจจาระอ่อนนิ่ม
•ดื่มน้ำมากๆ
•แช่ก้น (warm sitz bath)
•ยาแก้ปวด
•อาจใช้ nitro-glycerin ointment เพื่อให้แผลหายเร็วขึ้นเพราะจะทำให้มีเลือดมาเลี้ยงดีขึ้น
การรักษา แผลฉีกขาดที่ทวารหนัก
(Anal fissure)
การรักษามุ่งเน้นที่การลดภาวะความดันที่ทวารหนัก
การรักษาด้วยการผ่าตัด
Intestinal
Diverticulum
Diverticular Disease of colon หมายถึง การหย่อนตัวของผนังลำไสออกจากด้านที่เป็น lumen มีลักษณะเป็นกระเปราะ
กลไกการเกิด Diverticular Disease of colon
แรงดันในลำไส้บีบตัวมากก็โอกาสทำให้ผนังของลำไส้ยื่นออกเป็นกระเปราะได้
หรือ รับประทานคาร์โบไฮเดรตอย่างเดียว
แม้กระทั่งการขาดมวลกล้ามเนื้อหรือคอลาเจนในผู้สูงอายุทำให้มีโอกาสเป็น Diverticulosis ได้
การรักษา Diverticular Disease of colon
การผ่าตัด
การพยาบาล
1)ให้คำแนะนำในเรื่องการรับประทานอาหารไฟเบอร์สูง ลดอาหารไขมันและเนื้อสัตว์สีแดง
2)ชั่งน้ำหนักตัวและคำนวณพลังงานที่ร่างกายต้องการ วัดและบันทึกปริมาณน้ำเข้า-ออก ติดตามผล เลือดระดับ albumin ในเลือด
3)ต้องหลีกเลี่ยงการเพิ่มแรงดันในช่องท้อง เช่น การโค้งลำตัว การเบ่งถ่าย การใส่เสื้อผ้ารัดรูป
4)สังเกตอาการ peritonitis ปวดทอง
5)ในกรณีผู้ป่วยผ่าตัดชนิดที่เปิดทวารเทียม
GI obstruction
อาการ
อุจจาระออกทางปาก
ไม่อึ อาหารไม่ย่อย
เรอออกมาเป็นกลิ่นอุจจาระ
การรักษา
1)เริ่มแรกตองลดการคั่งคางของสิ่งคัดหลั่งในลำไส้ (decompression intestinal)
2)การผ่าตัดตกแต่ง (surgical repair)
3)ให้สารน้ำและอิเล็กโทรไลตอย่างเพียงพอ
4)ให้ยาบรรเทาอาการปวด
Hernia
ไส้เลื่อน หมายถึง ภาวะที่ลำไส้ได้เคลื่อนที่ออกจากช่องท้องมาสู่ภายนอก
1.Ventral hernia/ Surgical hernia คือ ไส้เลื่อนที่เกิดจากความอ่อนแอของผนังช่องท้อง
2.Umbilical hernia ไส้เลื่อนบริเวณสะดือ ทำให้เป็นสะดือจุน
3.Femoral hernia เป็นผลมาจากความอ่อนแอของผนังช่องท้องส่วนล้าง ลำไส้เลื่อนผ่าน femoral ring
Indirect inguinal hernia (IIH) ไส้เลื่อนชนิด
นี้เกิดจากขณะที่เป็นตัวอ่อน
Direct inguinal hernia (DIH)
ล้าไส้เคลื่อนผ่าน inguinal canal
อาการที่สำคัญ
การที่มีก้อน
การรักษา
•การผ่าตัด Herniorrhaphy
•การผ่าตัด Hernioplasty
การพยาบาล
-ภาวะติดเชื้อจากลำไส้เน่า
-ภาวะวิตกกังวลเกี่ยวกับการผ่าตัด
คำแนะนำการปฏิบัติตัวก่อนกลับบ้าน
1.ห้ามเบ่งหน้าท้อง ระวังไม่ให้ท้องผูก
2.ห้ามยกของหนักภายใน 6 สัปดาห์หลังผ่าตัด
3.ใสกางเกงใน supporter พยุงอัณฑะเวลาเดินเพื่อลดการกลับเป็นซ้ำ
4.แผลห้ามถูกน้ำ
5.7 วันหลังผ่าตัดตัดไหม หากพบสิ่งผิดปกติของแผล เช่น แผลอักเสบ บวมแดง เป็นหนอง แผลแยก มีไข้ให้มาโรงพยาบาลก่อนวันนัด
Esophageal stent
jejunostomy
gastrostomy
การใส่สายยางเข้าไปในกระเพาะอาหาร
(Gastrostomy tube)
หรือลำไส้เล็ก (jejunostomy tube)
(ผ่านทางบริเวณหน้าท้อง) เพื่อให้
อาหารเหลวแก่ผู้ป่วย
การให้อาหารแบบให้ปริมาณทั้งหมดในเวลาสั้นๆ
การให้อาหารแบบหยดช้าๆ เป็นมื้อๆ
การให้อาหารแบบหยดช้าๆ อย่างต่อเนื่อง