Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
91723 การกำหนดโจทย์และสมมติฐานการวิจัย การส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร -…
91723 การกำหนดโจทย์และสมมติฐานการวิจัย
การส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
2.1 พื้นฐานแนวคิดที่ทำให้การตอบโจทย์การวิจัยมีคุณค่าที่สมดุล
2.1.1ความรู้เกี่ยวกับการสร้างแนวคิดในการออกแบบโครงสร้างการวิจัย
แนวคิดในการวิจัยของการออกแบบเชิงโครงสร้างที่เน้นระเบียบวิธีการทางวิทยาศาสตร์และปรัชญา
ความจริง
ความเป็นจริง
การเข้าถุึงความเป็นจริง
เป้าหมายในการแสวงหาความรู้และความเป็นจริง
พื้นฐานแนวคิดที่สำคัญในการมุ่งไปถึงสิ่งที่มีหลักฐานความเป็นจริง
การหาความเป็นจริงของระเบียบวิธีการทางการวิจัย
การค้นหาความจริงด้วยแนวทางเชิงระบบ
การค้นหาความเป็นจริงด้วยแนวทางแบบองค์รวม
การวิเคราะห์เพื่อหาความเป็นจริงโดยยคดหลักของ MECE
การวิเคราะห์สถานการณ์ที่จำเป็นและพอเพียง
2.1.2 มุมมองปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการกำหนดหัวข้อในการวิจัยที่เหมาะสม
ความเข้าใจองค์ประกอบการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเพื่อกำหนดโจทย์วิจัย
พื้นฐานการส่งเสริมการเกษตรมีรากฐานมาจากทฤษฑีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
องค์ประกอบของการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเพื่อการกำหนดตัวแปรในการวิจัยเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
คุณลักษณะที่สำคัญของนักวิจัยที่ทำให้เกิดการตอบโจทย์การวิจัยอย่างคุณภาพ
2.1.3ผลที่ได้พึงปราถนาและข้อพึงหลีกเลี่ยงในการวิจัยเพื่อการนำการวิจัยไปใช้ให้เกิดผล
ข้อค้นพบใหม่
แนวคิดสำคัญบางอย่างของกระบวนการการวัดผลทั้งเชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ และอื่นๆที่ทำให้การตอบโจทย์ได้ผลที่พึงปราถนา
ความรู้ความจริงที่ได้จากการวิจัย ต้องนำไปรับใช้สังคม ไม่ใช่ วิจัยบนหิ้ง ที่ไม่นับว่าเป็นความรู้
ข้อพึงหลีกเลี่ยงในการวิจัยเพื่อการนำวิจัยไปใช้ให้เกิดผล
Plagiarism
Cohort effect
Hawathorne Effect
Third Variable Problem
2.2การดำเนินการตามกระบวนการพื้นฐานของการขับเคลื่อนหลักในการกำหนดโจทย์การวิจัย
2.2.1แนวคิดในการตอบโจทย์ เงื่อนไข พื้นฐานสำคัญเพื่อให้เกิดการขับเคลื่อนหลัก
เงื่อนไขการตอบโจทย์ให้เกิดผลลัพธ์ที่ำพึงปราถนาด้วยกำหนด ประเด็นปัญหาในการวิจัยให้เหมาะสมถูกต้อง
พื้นฐานสำคัญบางอย่างในการวิจัยของแนวทางในการตอบโจทย์ของกระบวนการขับเคลื่อนหลัก
กำนหดโจทย์การวิจัยให้ถูก
กลเม็ดที่สำคัญในการตอบโจทย์ด้วยคำถามในการวิจัยและประเด็นปัญหาหลัก
การเลือกและกำหนดหัวข้อในการวิจัย
คุณลักษณะที่สำคัญหัวข้อในการวิจัย
การเลือกหัวข้อที่เหมาะสม
เป็นหัวข้อที่ไม่ซ้ำกับงานวิจัยที่ทำมาก่อน
มีความเป็นไปได้ในการทำที่ก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด
การปรึกษากับผู้รู้หรือผู้ชี้ทาง
ความสำเร็จตามหัวข้อการวิจัยที่กำหนด ขึ้นอยู่กับศักยภาพของผู้ทำการวิจัยอย่างแท้จริงในการตอบโจทย์
2.2.2กระบวนการสำคัญในการขับเคลื่อนการวิจัยเพื่อให้เห็นทิศทางและแนวทางการตอบโจทย์
การกำหนดความสำคัญของปัญหาในการวิจัย
พื้นฐานคือประเด็นปัญหาในการวิจัย
ความสำคัญของโครงการ
ที่มาและเหตุผลของการวิจัย
การตั้งคำถามในการวิจัย
เป็นสิ่งที่รักวิจัยต้องกาารรู้และค้นหาคำตอบ
คำถามวิจัยที่ต้องการคำตอบจากการวิจัยที่นักวิจัยต้องเข้าใจอย่างถ่องแท้
การได้มาของคำตอบของคำถามในการวิจัยที่ต้องการคำตอบนั้น
การกำหนดจุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ในการวิจัย
การกำหนดขอบเขตการวิจัย
การกำหนดคำนิยามเชิงปฎิบัติการ
ประโยชน์จากงานวิจัย
2.2.3 การออกแบบโครงสร้างของข้อมูล การกำหนดกรอบความคิดและสมมติฐาน
การทบทวนวรรณกรรม
กรอบแนวคิดการวิจัย
กรอบแนวคิดแบบจำลองในการวิจัย
กรอบแนวคิดสมมติฐานในการวิจัยเพื่อทดสอบและกรตั้งตามแนวที่เหมาะสม
กรอบแนวคิดสมมติฐานในการวิจัยเพื่อการทดสอบและการตั้งตามแนวทางที่เหมาะสม
2.3 แนวคิดของการออกแบบและการวิเคราะห์การวิจัยเพื่อการตอบโจทย์อย่างมีระบบ
2.3.1 แนวคิดการกำหนดระเบียบวิธีการวิจัยเพื่อการตอบโจทย์การวิจัย
แนวคิดของการวิจัยแบบวิธีผสม
ความรู้ความเป็นจริงที่ได้จากการวิจัย ที่ไม่ใช่ วิจัยบนหิ้ง
ในการผสมผสานเป็นหนึ่งเดียวของการวิจัยเชิงคุณภาพกับวิจัยเชิงปริมาณ
แนวคิดการวิจัยแบบการทดลอง
แนวคิดพื้นฐานของการวิจัยแบบการทดลอง (การวิจัยเชิงปริมาณ)
แนวคิดความตรงภายใน
การคัดเลือกสิ่งทดลอง
การวิเคราะห์ทางสถิติ
การวิเคราะห์ทางสถิติที่จะช่วยยืนยันหรือปฎิเสธโมเดลเชิงสาเหตุ
แนวคิดการวิจัยเชิงปฎิบัติการ
การวิจัยเชิงปฎิบัติการ
การวิจัยเชิงปฎิบัติการของการวิจัยเชิงคุณภาพ
แนวคิดการวิจัยประเมินความต้องการจำเป็น
คล้ายคลึงกับการประเมิน
เกณฑ์สำคัญในการตัดสินความพร้อมการวิจัยแบบนี้
หลักการสำคัญที่ใช้
แนวคิดที่สำคัญ
2.3.2 การวิเคราะห์อย่างมีระบบเพื่อตอบโจทย์ด้วยความจริง
แนวคิดพื้นฐานของการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อตอบโจทย์ที่เหมาะสม
แนวคิดการเก็บและวิเคราะห์การวิจัยเชิงปริมาณ
แนวคิดการเก็บและวิเคราะห์การวิจัยเชิงคุณภาพ
แนวคิดการวิเคราะห์ข้อมูลบางอย่างที่เกี่ยวข้องเพื่อให้เกิดการตอบโจทย์ที่เหมาะสม
แนวคิดการวิเคราะห์ข้อมูลความต้องการจำเป็น
การวิเคราะห์หาเหตุและผลด้วยเทคนิคการใช้แผนภูมิก้างปลา
แนวคิดการวิเคราะห์ระบบ
2.3.3 แนวคิดการตีความและการสรุปสาระอย่างมีเหตุผลเพื่อสรุปผลการวิจัย
แนวคิดการตีความเพื่อตอบโจทย์การวิจัย
การตีความผลการวิจัยเชิงปริมาณ
การตีความผลการวิจัยในการวิจัยเชิงคุณภาพ
แนวคิดการสรุปสาระอย่างมีเหตุผลของการวิจัยเชิงปริมาณ
แนวคิดการสรุปสาระอย่างมีเหตุผลของการวิจัยเชิงคุณภาพ