Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เทคโนโลยีอวกาศกับการสำรวจอวกาศ, น.ส.สุธาวินี มั่นเหมาะ เลขที่17 ม.6/1 -…
เทคโนโลยีอวกาศกับการสำรวจอวกาศ
กล้องโทรทรรศน์
สามารถเปรียบเทียบการทำงานของกล้องโทรทรรศน์ได้กับการพยายามกินน้ำฝน
หากเปิดรูม่านตาให้กว้างขึ้นจะสามารถดักแสงดาวได้มากขึ้น
สามารถเปรียบเทียบกล้องโทรทรรศน์ได้กับกรวยขนาดใหญ่ที่ทำหน้าที่รับแสงจากดวงดาวเข้าสู่ตาของมนุษย์
กล้องโทรทรรศน์มีหน้าที่
1 รวมแสงด้วยพื้นที่รับแสงที่มากกว่านัยน์ตามนุษย์
2 เพิ่มขนาดเชิงมุมปรากฏของวัตถุหรือเพิ่มกำลังขยาย
3 เพิ่มกำลังขยาย
4 ระบุตำแหน่งของวัตถุ
1 อัตราส่วนโฟกัส( F)
เป็นค่าที่บอกถึงความสามารถในการรวมแสงของกล้องโทรทรรศน์
2 กำลังรวมแสง
โดยทั่วไปมักจะระบุขนาดของกล้องเป็นค่าผ่านศูนย์กลางหน้ากล้อง
กำลังรวมแสงของกล้องโทรทรรศน์
หาได้จากอัตตราส่วนระหว่างพื้นที่รับแสง
การรวมแสงของกล้องุลทรรศน์ ยังช่วยให้มองเห็นวัตถุที่มีความเข้มแสงน้อย
3 กำลังขยาย
กล้องโทรทรรศน์ทั่วไปประกอบด้วยเลนส์ใกล้วัตถุหรือกระจกเว้าและเลนส์ใกล้ตา
หากำลังขยายได้จาก อัตราส่วนระกว่างความยาวโฟกัสของเลนส์ใกล้วัตถุกับความยาวโฟกัสของเลนส์ใกล้ตา
4 กำลังแยกภาพ
คือ ระยะห่างเชิงมุมที่เล็กที่สุดที่กล้องโทรทรรศน์สามารถแยกจุด 2 จุด ออกจากกันได้
5 ประเภทของกล้องโทรทรรศน์
หน้าที่หลักคือ การรวมแสงซึ่งสามารถจำแนกประเภทของกล้องจุลทรรศน์ได้ตามอุปกรณ์รวมแสง แบ่งออกเป็น แบบหักเหแสง แบบสะท้อนแสง แบบผสม
1
กล้องโทรทรรศน์แบบหักเหแสง
ใช้เลนส์นูนเป็นเลนส์ใกล้วัตถุ ทำหน้าที่รวมแสง
กล้องโทรทรรศน์แบบกาลิเลโอ กล้องโทรรรศน์เคพเลอร์
2 กล้องโทรทรรศน์แบบสะท้อนแสง** กล้องโทรทรรศน์แบบสะท้อนแสงแบบโฟกัสหลัก กล้องโทรทรรศน์แบบสะท้อนแสงแบบนิวตัน กล้องโทรทรรศน์แบบสะท้อนแสงแบบแคสสิเกรน
3
กล้องโทรทรรศน์แบบผสม
เป็นกล้องที่ใช้ทั้งเลน์และกระจกเว้ารวมเเสง ซึ่งกล้องที่ได้รับความนิยม คือ กล้องโทรทรรศน์แบบชมิดท์-แคสสิเกรนและแบบมักซูตอฟ-แคสสิเกรน
6 ระบบแสงของกล้องโทรทรรศน์
1 ระบบแสงแบบแอ็กทีฟ
2 ระบบปรับตามภาพ
7 ระบบของกล้องโทรทรรศน์
1 ฐานระบบขอบฟ้า สามารถหันกล้องขึ้น-ลงและหมุนซ้ายขวาได้เช่นเดียวกับระบบพิกัดขอบฟ้า
2 ฐานศูนย์สูตร เป็นฐานที่มีการเอียงแกนหมุนให้สอดคล้องกับขั้วฟ้าทรงกลม
อุปกรณ์ที่ใช้ในการสำรวจอวกาศที่น่าสนใจ
1 ดาวเทียม
2 สถานีอวกาศ
3 ยานอวกาศ
4 กล้องโทรทรรศน์อวกาศ
5 หุ่นยนต์สำรวจอวกาศไร้คนขับ
เครื่องบันทึกสัญญาณทางดาราศาสตร์
1 เพลตถ่ายภาพและฟิล์ม
ฉาบด้วยสารไวแสงเพื่อบันทึกแสง
2 มาตรแสงและโพลาลิมิเตอร์
คืออุปกรณ์ที่ใช้วัดความเข้มของแสง
3 ตัวเพิ่มความเข้มภาพ
มีลักษณะเดียวกันกับที่พบได้ในกล้องมองกลางคืน
มักใช้ในช่วงคลื่นที่มีการตรวจวัดได้ยากหรือมีสัญญาณน้อย
4 กล้องซีซีดี
เป็นอุปกรณ์เก็บสัญญาณแสงที่พบได้ทั่วไป
เมื่อมีแสงตกกระทบพิกเซลจะเก็บสัญญาณไว้ แล้วแปลงออกมาเป็นสัญญาณ
5 อินเตอร์ฟีรอมิเตอร์
ใช้หลักการรวมแสงที่ได้จากกล้องโทรทรรศน์สองกล้องขึ้นไป เพื่อเพิ่มรายละเอียดภาพ
ดาราศาสตร์ในช่วงความยาวคลื่นอื่นๆ
5 กล้องโทรทรรศน์รังสสีเอกซื
มีอำนาาจทะลุละลวงและพลังงานสูง
กล้องโทรทรรศน์รังสีเอกซ์ต้องใช้แผ่นโลหะหนาหลายชั้นทำมุมป้านให้รักงสีเอกซ์ค่อยๆเบี่ยงเบนเข้าไปหาจุดโฟกัส
6 กล้องโทรทรรศน์รังสีแกมมา
เป็นแหล่งแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีพลังงานสูงที่สุด
ปัจจุบันมีกล้องโทรทรรศน์อวกาศสวิฟต์คอยติดตามการระเบิดของรังสีแกมมาอย่างต่อเนื่อง
7 เคื่องตรวจวัดรังสีคอสมิก
รังสีคอสมิกเป็นอนุภาคที่มีประจุและเคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูงมาก
รังสีคอสมิกเกิดจากดวงอาทิตย์ จากการระเบิดซูเปอร์โนวา จากแกนกาแล็กซีของกาแล็กซีอื่น
1 กล้องโทรทรรศน์วิทยุ
มีหลักการทำงานเหมือนกับเครื่องรับสัญญาณวิทยุ
2 กล้องโทรทรรศน์ไมโครเวฟ
รังสีไมโครเวฟเป็นแหล่งข้อมูลที่บอกถึงสภาพของเอกภพได้ดีที่สุด
3 กล้องโทรทรรศน์อินฟราเรด
มีความยาวคลื่น ในช่วง 0.7 ไมโครเมตร ถึง 1 มิลลิเมตร
เป็นรังสีที่มีพลังงานน้อย ถูกดูดกลืนได้ยาก มีอำนาจทะลุทะลวงได้ดี
ทำให้สามารถสังเกตวัตถุด้านหลังฝุ่นหรือแก๊สในอวกาศได้
4 กล้องโทรทรรศน์รังสีอัลตราไวโอเลต
ไม่สามารถผ่านชั้นบรรยากาศมาได้มากนัก
จึงต้องถูกส่งไปสำรวจนอกโลก
8 เครื่องตรวจจับนิวทริโน
เป็นอนุภาคมีมวลน้อยมาก เคลื่อนที่ด้วยความเร็วเกือบเท่าแสง
สามารถทะลุผ่ารสสารได้โดยไม่ใช้อนุภาคใดๆ
นิวทริโนกับอนุภาคโมเลกุลของน้ำจะเกิดการปล่อยรังสีออกมา
น.ส.สุธาวินี มั่นเหมาะ เลขที่17 ม.6/1