Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลอนามัยชุมชน, นางสาวสุวิมล เหี้ยมหาญ 36/2 เลขที่51 61111301132 -…
การพยาบาลอนามัยชุมชน
ขั้นการวินิจฉัยชุมชน (Community Diagnosis)
การระบุปัญหา (Problem Identification)
ใช้เกณฑ์ ตัวชี้วัดด้านสุขภาพ
5D: Dead, Disability, Disease, Discomfort, Dissatisfaction
กระบวนการกลุ่ม (Nominal Group Process)
การจัดลำดับความสำคัญของปัญหา (Priority setting)
ขนาดของปัญหา (Size of Problem)
ไม่มีเลย= 0คะแนน
มากกว่า 0-25 =1 คะแนน
มากว่า 25-50 =2 คะแนน
มากกว่า 50-75 =3คะแนน
มากกว่า 75-100=4คะแนน
ความรุนแรง (Severity of Problem)
ไม่มีเลย = 0คะแนน
มากกว่า 0-25 = 1คะแนน
มากว่า 25-50 =2คะแนน
มากกว่า 50-75 =3 คะแนน
มากกว่า 75-100 = 4 คะแนน
ความยากง่าย (Ease of Management of Susceptibility)
ทำไม่ได้เลย 0คะแนน
ยากมาก 1คะแนน
ยาก 2คะแนน
ง่าย 3คะแนน
ง่ายมาก 4คะแนน
ความวิตกกังวล/ความสนใจของชุมชน
(Community concern)
ไม่มีเลย/ไม่สนใจเลย 0 คะแนน
มากกว่า 0-25/สนใจน้อย 1 คะแนน
มากว่า 25-50/สนใจปานกลาง 2คะแนน
มากกว่า 50-75/สนใจมาก 3 คะแนน
มากกว่า 75-100/สนใจมากที่สุด 4 คะแนน
การระบุสาเหตุ และทำโยงใยสาเหตุของปัญหา
(Identify Cause of Problem and Web of Causation)
ชนิดของสาเหตุ (Type of Causation)
สาเหตุทางตรง
สา้หตุทางอ้อม
ชนิดของโยงใยสาเหตุของปัญหา (Type of web of causation)
โยงใยสาเหตุทางทฤษฎี (Theoretical Web of causation)
โยงใยสาเหตุที่เกิดขึ้นจริง (Causal Web of causation)
ขั้นการประเมินภาวะสุขภาพชุมชน
(Community Assessment)
1.1การเก็บรวบรวมข้อมูล (Data Collection)
ชนิดของข้อมูล (Type of Data)
ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data):
ข้อดี ได้ข้อมูลครบตามวัตถุประสงค์ ที่ต้องการ ทันสมัย
ข้อเสีย เสียเวลา งบประมาณ
ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data)
ข้อดี ไม่สิ้นเปลือง กำลังคน หรือค่าใช้จ่าย
ข้อเสีย อาจไม่ได้ข้อมูลครบถ้วนตามที่ต้องการ
ข้อมูลทั่วไปของชุมชน
ประชากร
สุขภาพ
พฤติกรรมสุขภาพ
สิ่งแวดล้อม
การบริการสุขภาพ
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล (Methods/Tools)
การสังเกต (Observation): พฤติกรรมสุขภาพ สิ่งแวดล้อม
การสำรวจ (Survey): สำมะโนประชากร
การใช้แบบสอบถาม (Questionnaire): การรับประทานอาหาร
การป้องกันตัวไม่ให้ติด COVID 19
การวัดและประเมิน(Measurement): BP, blood sugar, waist circumference, BMI, ADL
การสัมภาษณ์/สัมภาษณ์เชิงลึก
การสนทนากลุ่ม
การกำหนดกลุ่มเป้าหมาย
1.ประชากรทั้งหมด (Census)
2.การสุ่มตัวอย่าง (Random Sampling)
2.การวิเคราะห์ข้อมูล (Data analysis)
1.ข้อมูลเชิงปริมาณ
Descriptive Stat.
ข้อมูลทั่วไปส่วนบุคคล
อายุ
เพศ
การศึกษา
อาชีพ
ข้อมูลด้านสุขภาพ
อัตราการเกิด
อัตราการตาย
อัตราความชุก
อัตราอุบัติการณ์
Inferential Stat
T-Test, Chi-Square etc.
2.ข้อมูลเชิงคุณภาพ
2.1การวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ( Content Analysis)
การปฏิบัติตามแผนงาน (community implementation)
ขั้นเตรียมงาน
เตรียมความพร้อมของทีม
การประชุมปรึกษา
กำหนดตัวบุคคลและการแบ่งหน้าที่รับผิดชอบ
กำหนดแนวทางการประสานงาน
เตรียมความพร้อมของทรัพยากรและงบประมาณ เครื่องมือที่จะนำไปใช้
การประชาสัมพันธ์ แจ้งให้ประชาชนทราบ วันเวลา วัตถุประสงค์ ให้ได้รับรู้ ตระหนัก และมีส่วนร่วมในการทำงาน
ขั้นดำเนินงาน
กำหนดกิจกรรมหรือแนวการปฏิบัติงานแก้ปัญหา ผู้รับผิดชอบ ทรัพยากร งบประมาณ
การปฏิบัติงานเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องต้องมีการบริหารจัดการ การอำนวยการ มอบหมายงาน จำเป็นอย่างยิ่งต้องมีการควบคุมกำกับ เพื่อดูว่าการดำเนินงานมีความก้าวหน้ามากน้อยเพียงใด มีปัญหาหรืออุปสรรคหรือไม่
การวางแผนแก้ปัญหาอนามัยชุมชน (community planning)
ประเภทของแผน
แผนระยะยาว ระยะดำเนินงาน 5-10 ปี
แผนระยะปานกลาง ระยะดำเนินงานอยู่ระหว่าง 2-5 ปี
แผนระยะสั้น ระยะดำเนินงานอยู่ระหว่าง 2 ปี ลงไป
การประเมินผลแผนงานโครงการ (community evaluation)
การจัดเก็บข้อมูลทุกๆ ด้านมาวิเคราะห์ปัจจัยต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติและประสิทธิภาพของการปฏิบัติงานตามโครงการในทุกขั้นตอน ซึ่งจะช่วยให้สามารถขจัดปัญหาข้อขัดข้อง และปรับปรุงการดำเนินงานให้มีประสิทธิภาพในทุกๆ ขั้นตอนต่อไปในอนาคต
นางสาวสุวิมล เหี้ยมหาญ 36/2
เลขที่51 61111301132