Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Teenage Pregnancy
Preterm
Diastasis Recti Abdominis
Under Weight
:tada…
Teenage Pregnancy
Preterm
Diastasis Recti Abdominis
Under Weight
:tada:นศพต.ชุลีพร เสือน้อย เลขที่ 19 :tada:
ข้อมูลพื้นฐาน
- หญิงตั้งครรภ์อายุ 18ปี
- อาชีพ call center
- เชื้อชาติไทย สัญชาติไทย ศาสนาพุทธ
- วันที่รับไว้ในความดูแล 10 มีนาคม 2564
- G1P0000
- GA 33^6 wks by u/s
- LPM 2 กรกฎาคม 2564 * 6 วัน
- EDC by date 8 เมษายน 2564 GA 16 wks
- U/S วันที่ 16/12/63 GA 21^6 wks
- EDC by u/s 22 เมษายน 2564
- ฝากครรภ์ครั้งแรก 22 ตุลาคม 2563 GA 16 wks by date u/s ครั้งแรก GA 21^6 wks เชื่อ u/s ฝากครรภ์ทั้งหมด 6 ครั้ง ที่โรงพยาบาลตำรวจ
- ประวัติการเจ็บป่าวยในอดีต : ปฏิเสธ
- ประวัติครอบครัว : ปฏิเสธ
- ประวัติการได้รับวัคซันป้องกันบาดทะยัก :
:check:เข็มแรก 4 พฤศจิกายน 2563
:check:เข็มที่ 2 16 ธันวาคม 2563
- ประวัติการผ่าตัด : ไม่มี
- ประวัติการแพ้ยา แพ้อาหาร : ไม่มีแพ้ยา ไม่แพ้อาหาร
การตรวจร่างกาย
-
น้ำหนัก
น้ำหนักก่อนการตั้งครรภ์ 40 กิโลกรัม
ส่วนสูง 160 เซนติเมตร
BMI 15.69 kg/m^2 (underweight)
น้ำหนักขณะตั้งครรภ์ 58.1 เพิ่มขึ้น 18.1 กิโลกรัม
:pencil2:ไตรมาสที่ 1 GA 16 wks >> 45.8 kg. เพิ่ม 5.8 kg (0.36/week)
:pencil2:ไตรมาสที่ 2 GA 27^6 wks >> 53 kg เพิ่ม 13 kg (0.46/week)
:pencil2:ไตรมาสที่ 3 GA 33^6 wks >> 58.1 kg เพิ่ม 18.1 kg (0.53/week)
มารดา BMI< 18.5
น้ำหนักที่เพิ่มขึ้นได้ทั้งหมด 12.5-18 กิโลกรัม
ไตรมาสแรก : 0.5-2 kg.
ไตรมาสที่ 2 และ 3: 0.51 kg/week (0.44-0.58 kg)
การตรวจร่างกาย
- ตา : conjunctiva ไม่มีภาวะซีด
- ปาก : ไม่มีฟันผุ
- คอ : ไม่มีต่อมไทรอยด์บวมโต
- เต้านม : หัวนมข้างซ้ายและหัวนมข้างขวา ค่อนข้างสั้น ลานนม ปกติ แก้ไขโดย Hoffman's
- หน้าแข็งทั้งสองข้างไม่บวม เท้าบวมเล็กน้อย กดไม่บุ๋ม
การตรวจครรภ์
- Fundal Grip : 3/4 > สะดือ
- Umbilical Grip : Large part อยู่ด้านขวา ROA
- Pawlik’s Grip : Head Partial Engagement, Vertex Presentation
- Bilateral inguinal Grip : Head Partial Engagement
-
พยาธิสภาพ
สตรีตั้งครรภ์วัยรุ่น
การตั้งครรภ์ในสตรีวัยรุ่น (Teenage or adolescent pregnancy) หมายถึง การตั้งครรภ์ในสตรีที่มีอายุต่ำกว่า 20 ปี สามารถแบ่งได้เป็น 3 ระยะ คือ วัยรุ่นตอนต้น อายุน้อยกว่าหรือเท่ากับ 14 ปี วัยรุ่นตอนกลาง อายุ 15-17 ปี และวัยรุ่นตอนปลาย อายุ 18-19 ปี ซึ่งการตั้งครรภืในช่วงวัยรุ่นตอนต้น และตอนกลาง จะส่งผลกระทบต่อสตรีมีครรภ์และทารกในครรภ์มากกว่าช่วงวัยรุ่นตอนปลาย
สาเหตุและปัจจัยส่งเสริม
- :checkered_flag:1.ปัจจัยด้านสตรีวัยรุ่น
1.2 การจัดการเรียนการสอนเพศศึกษาในโรงเรียนที่ไม่จริงจังและเนื้อหาไม่ทันต่อสถานการณ์ของสังคมในปัจจุบัน ทำให้วัยรุ่นขาดความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในเรื่องของเพศศึกษา เพศสัมพันธ์การคุมกำเนิด การป้องกันการตั้งครรภ์ หรือความล้มเหลวในการคุมกำเนิดด้วยวิธีต่างๆ
1.1 การเปลี่ยนแปลงทั้งร่างกายและจิตใจ พัฒนาการทางเพศที่เริ่มมีความสมบูรณ์มากขึ้นมีความสนใจเรื่องเพศ มีความอยากรู้อยากเห็นอยากทดลองที่นำไปสู่การมีเพศสัมพันธ์
1.3 การดื่มสุราหรือการใช้สารเสพติดต่าง ๆ ทำให้เพิ่มความเสี่ยงต่อการมีเพศสัมพันธ์โดยไม่ได้ตั้งใจและเกิดการตั้งครรภ์ตามมา
- :checkered_flag:2. ปัจจัยด้านครอบครัว
2.1 ภาระหน้าที่ของพ่อแม่ที่ต้องทำงานจนไม่มีเวลาให้กับลูก ขาดความเอาใส่ดูแล ความใกล้ชิดอบอุ่นในครอบครัวน้อยลง วัยรุ่นมีอิสระมากขึ้นทำให้มีโอกาสในการใกล้ชิดและมีเพศสัมพันธ์กับเพื่อนต่างเพศเพิ่มมากขึ้น
2.2 สัมพันธภาพในครอบครัวไม่ดี พ่อแม่ทะเลาะกันเป็นประจำ วัยรุ่นมีความรู้สึกไม่ดีกับครอบครัว บรรยากาศในบ้านไม่น่าอยู่ ส่งผลทำให้วัยรุ่นออกนอกบ้านไปหาเพื่อนหรือแฟน
-
2.3 ครอบครัวแตกแยก พ่อแม่แยกทางกัน วัยรุ่นต้องอยู่กับญาติ หรือบุคคลอื่นส่งผลทำให้วัยรุ่นรู้สึกว้าเหว่ ขาดความรักและความอบอุ่น ทำให้แสวงหาความรักในทางที่ไม่เหมาะสม
- :checkered_flag:3. ปัจจัยด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม
3.1 การเปลี่ยนแปลงของสังคม และวัฒนธรรม ค่านิยม รูปแบบการใช้ชีวิตอย่างเสรีความใกล้ชิดสนิทสนมกับเพื่อนต่างเพศ ทำให้วัยรุ่นมีเพศสัมพันธ์ตั้งแต่อายุน้อย ๆ เพิ่มมากขึ้น
3.2 ความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ได้แก่ การเข้าถึงสื่อสังคมออนไลน์ต่างๆ ได้ง่ายเป็นสิ่งที่กระตุ้นให้วัยรุ่นมีความต้องการทางเพศเพิ่มมากขึ้น การติดต่อผ่านทางเฟสบุค (Facebook)ไลน์ (Line) ทำให้วัยรุ่นถูกล่อลวงไปสู่การมีเพศสัมพันธ์ได้ง่าย
-
- มารดา อายุ 18 ปี
- G1P0000
- GA 33^6 wks by u/s
Preterm
-
สาเหตุ
-
-
-
-
-
1.7 การติดเชื้ออวัยวะสืบพันธ์พบ ร้อยละ 7 - 26 เช่น พบเชื้อ
trichomoniasis, bacterial vaginosis
-
-
-
-
-
-
-
-
5.ลักษณะของมารดา อายุน้อยกว่า 20 ปี หรือมากกว่า 35 ปี ตัวเตี้ย ส่วนสูงน้อยกว่า 145 เซนติเมตร ภาวะเครียด
- มารดา อายุ 18 ปี
- G1P0000
- GA 33^6 wks by u/s
-
Diastasis Recti
- ในไตรมาสที่สามของการตั้งครรภ์ กล้ามเนื้อหน้าท้องมีการยืดขยาย อาจทำให้กล้ามเนื้อ Rectus abdominis แยกจากกัน เรียกภาวะนี้ว่า"Diastasis recti" ถ้าแยกเพียงเล็กน้อยจะไม่มีอาการแสดงทางคลินิกชัดเจน แต่ถ้ามีรอยแยกขนาดใหญ่ จะทำให้ผนังมดลูกถูกปกคลุมเพียงเยื่อบุช่องท้อง (Peritoneum) พังผืด (Fascia) และผิวหนังเท่านั้น
- Diastasis recti เป็นภาวะที่กล้ามเนื้อ Rectus ที่ผนังหน้าท้องแยกออกในแนวกลางลำตัวถ้าเป็นมากๆ ผนังหน้าท้องบริเวณนั้นจะบางลงเหลือแต่ชั้นผิวหนัง ขณะสตรีตั้งครรภ์ยืนยอดมดลูกอาจเลื่อนลงมาอยู่ในอุ้งเชิงกรานได้
-
- การที่ผนังหน้าท้องมีการแยกออกจากกันอาจมีผลทำให้มารดาเกิดการคลอดก่อนกำหนด เนื่องจากไม่มีผนังหน้าท้องคอยพยุงเด็กในครรภ์ ทำให้เด็ก engagement เร็วกว่าปกติ
- และอาจจะทำให้มารดาไม่มีแรงเบ่งคลอดจากการที่ไม่มีผนังหน้าท้องแยกออกจากกัน
-
คำแนะนำก่อนกลับบ้าน
-
-
แนะนำให้มารดาทานอาหารให้ครบ 5 หมู่
เพื่อให้น้ำหนักเพิ่มขึ้นอย่างเหมาะสม แนะนำให้ทานอาหารจำพวกเนื้อสัตว์ เนื้อ นม ไข่ เพิ่มขึ้น เพื่อเสริมสร้างการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์ ทานอาหารให้ครบ 3 มื้อและมีมื้อว่างอีก 2-3 มื้อ
แนะนำให้มารดาแนะนำให้มารดาทานยาให้ครบตามที่แพทย์สั่งคือ Nataral 1x1 pc,Caltab 1x1 pc
-