Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างรู้เท่าทัน - Coggle Diagram
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างรู้เท่าทัน
เหตุผลวิบัติ
เหตุผลวิบัติ (fallacy) เป็นการอ้างเหตุผลที่บกพร่องอันเกิดจากความผิดพลาดในกระบวนการคิดหาเหตุผล (reasoning process) ทั้งแบบอุปนัยเละนิรนัยซึ่งส่งผลให้การอ้างเหตุผลนั้นเป็นการอ้างหตุผลที่วิบัติ (fallacious argument)
ในส่วนที่เกี่ขวกับเหตุผลวิบัตินี้ มีสิ่งที่ควรสังเกตอย่อข่างหนึ่งคือ การพบว่ามีเหตุผลวิบัติในการอ้างเหตุผลใดนั้น มันไม่ได้ทำให้เราสามารถสรุปได้ว่าข้อสรุปนั้นเท็จ (falรe) ในกรณีที่การองเหตุผลบกพร่องหรือวิบัตินั้น มันหมายถึงว่า การอ้างเหตุผลนั้นจะไม่เป็นเหตุผลที่ทำให้เราเชื่อได้ว่าข้อสรุปนั้นถูก
เหตุผลวิบัติแบ่งออกได้ 2 ประเภท
เหตุผลวิบัติแบบเป็นทางการ
อกิดจากการให้เหตุผลที่ใช้หลักตรรกะที่ไม่ถูกต้อง แต่เขียนในรูปแบบที่เป็นทางการทำให้ดูสมเหตุสมผล
2.เหตุผลวิบัติแบบไม่เป็นทางการ
การประเมิณความน่าเชื่อถือของข้อมูล
Method – วิธีการ (มีการวางแผนในการเก็บรวบรวมข้อมูลอย่างเป็นระบบ)
Provenance – แหล่งที่มา (มีการระบุแหล่งที่มาอย่างชัดเจน)
Timeliness – เวลา (มีความทันสมัย เป็นปัจจุบัน ระบุช่วงเวลาที่สร้างข้อมูล)
การตรวจสอบความน่าเชื่อถือของแหล่งที่มาของข้อมูล
การค้นหาข้อมูลจากเว็บไซต์ หรือแหล่งที่มาของข้อมูล เพื่อนำไปใช้งานและอ้างอิง จำเป็นต้องตรวจสอบความน่าเชื่อถือของแหล่งที่มาของข้อมูลก่อน ไม่เช่นนั้นอาจได้ข้อมูลที่ขาดความถูกต้อง และเกิดปัญหาตามมาในภายหลัง ซึ่งมีวิธีการตรวจสอบดังนี้
บอกวัตถุประสงค์ในการสร้างหรือเผยแพร่อย่างชัดเจน
นำเสนอเนื้อหาตรงตามวัตถุประสงค์ในการสร้างหรือเผยแพร่ข้อมูล
มีเนื้อหาไม่ขัดต่อกฎหมาย ศีลธรรม จริยธรรม
ระบุชื่อผู้เขียนบทความ หรือผู้ให้ข้อมูลบนเว็บไซต์
อ้างอิงแหล่งที่มาหรือแห่งต้นตอของข้อมูล
สามารถเชื่อมโยง (link) ไปเว็บไซต์ที่อ้างอิงถึงเพื่อตรวจสอบต้นตอของข้อมูลได้
ระบุวันเวลาในการเผยแพร่ข้อมูล
มีช่องทางติดต่อผู้ดูแลเว็บไซต์
มีช่องทางให้แสดงความคิดเห็น
มีข้อความเตือนผู้อื่นให้ใช้วิจารณญาณในการตัดสินใจใช้ข้อมูล