Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างรู้เท่ากัน - Coggle Diagram
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างรู้เท่ากัน
กฎหมายเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
การออกข้อกำหนด ระเบียบ และกฎหมายต่างๆที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศ มีวัตถุประสงค์เพื่อให้การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นไปด้วยความเรียบร้อยประเทศไทยมีการออกพระราชบัญญัติต่างๆ
ตัวอย่างการกระทำที่มีความผิดตามพระราชบัญญัติ
ส่งข้อมูลคอมพิวเตอร์หรืออีเมลให้บุคคลอื่น ซึ่งก่อให้เกิดความเดือดร้อนหรือรำคาญ โดยไม่เปิดโอกาสให้ผู้รับสามารถบอกเลิกหรือปฏิเสธการตอบรับได้โดยง่าย
การประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูล
การข้อมูลมาใช้ในการเรียน การทำงานเเละการตักดสินใจต่างๆจะต้องพิจารณาความถูกต้องของข้อมูลที่นำมาจากหลายเเหล่งเป็นข้อมูลที่มีความน่าเชื่อถือมีความถูกต้องสมบูรณ์
การตรวจสอบความน่าเชื่อถือ
เว็บไซตืหรือที่มาของข้องข้อมูลต้องบอก วัตถุประสงค์ในการสร้างหรือเผยเเพร่ข้อมูลไว้ในเว็บไวต์อย่างชัดเจน
การนำเสนอเนื้อหาต้องตรงตามวัตถุประสงค์ในการสร้างหรือเผยเเพร่ข้อมูลของเว็บไซต์
เนื้อหาไม่ขัดต่อกฎหมาย
มีการระบุชื่อผู้เขียนบทหรือผู้ให้ข้อมูล
มีการระบุวันเวลาในการเผยเเพร่
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย
การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศมีวัตุประสงค์หลายอย่าง เช่น การใช้งานเพื่อทำธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์(electronic transaction) การใช้งานเพื่อสนับสนุนการทำงาน และการใช้งานทั่วไป ซึ่งจะต้องคำนึงถึงความปลอดภัยในการใช้งาน
1.การทำธุรกรรมโดยตรงระหว่างผู้ขายและผู้ซื้อ โดยผ่านเครือข่ายทางสังคมต่างๆ หรือผ่านเว็บไซต์ของผู้ขาย เช่น การจองที่พักผ่านเว็บไซต์ของโรงแรม2.การทำธุรกรรมที่มีผู้ให้บริการ เป็นรูปแบบการทำธุรกรรมที่มีผู้ให้บริการสนับสนุนการดำเนินหรือตัวกลา งจะรวบรวมสินค้าและบริการต่างๆ
ข้อควรคะนึงในการทำธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์
ชำระเงินโดยการให้ผู้ซื้อดำเนินการโอนเงินผ่านธนาคาร แล้วส่งหลักฐานยืนยันเพื่อให้ผู้ขายส่งของภายหลัง เป็นต้น
การรู้เท่าทันสื่อ
หมายถึง ความสามารถในการป้องกันตนเองจากการถูกโน้มน้าวด้วยเนื้อหาที่เป็นเท็จและมีผลกระทบต่อผู้รับสื่อ
ข่าวลวงและผลกระทบ
สร้างเรื่องราวเพื่อให้เป็นจุดสนใจของสังคม
สร้างความหวาดกลัว
กระตุ้นความโลภ
เหตุผลวิบัติ
การให้เหตุผลเป็นวิธีการหนึ่งที่สร้างความน่าเชื่อถือให้กับข้อคิดเห็นหรือข้อสรุปต่างๆ การให้เหตุผลที่เหมาะสมมีส่วนทำให้การตัดสินใจยอมรับความเห็นและข้อสรุปทำได้ง่ายขึ้น
การใช้เหตุผลโดยอ้างถึงผู้พูดว่ามีพฤติกรรมขัดแย้งกับสิ่งที่พูดเพราะฉะนั้นสิ่งที่พูดมาจึงเชื่อถือไม่ได้
การใช้งานลิขสิทธิ์ที่เป็นทำ
ลิขสิทธิ์ สิทธิเเต่เพียงผู้เดียวที่จะกระทำการใดๆเกี่ยวกับงานที่ผู้สร้างสรรค์ได้ริเริ่มโดยการใช้สติปัญญาความรู้ ความสามารถ เเละความวิริยอุตสาหะของตนเองในการสร้างสรรค์ไม่ลอกเลียนเเบบผู้อื่น
ลิขสิทธิ์ที่เป็นทำ
-การวิจัยหรือศึกษางานโดยไม่เเสวงหากำไร
-ผู้สอน ทำซ้ำดัดเเปลงผลงาน
-การเสนอรายงานหรือติชมวิจารณ์เเนะนำโปรเเกรม
ลิขสิทธิ์ที่ไม่เป็นทำ
-การดาวน์โหลดเพลงผู้อื่นไปขาย
-ผู้สอนถ่ายเอกสารเพื่อไปขายกับผู้เรียน
-การใช้โปรเเกรมคอมพิวเตอร์เเบบทดลองใช้อย่างต่อเนื่อง