Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างรู้เท่ารู้ - Coggle Diagram
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างรู้เท่ารู้
1.การประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูล
เว็บไซต์หรือเเหล่งที่มาของข้อมูล ต้องบอกวัตถุประสงค์ในการสร้าง หรือเผยเเพร่ข้อมูลไว้ในเว็บไซต์อย่างชัดเจน
การนำเสนอเนื้อหาต้องตรงตามวัตถุประสงค์ ในการสร้างดรือเผยเเพร่ข้อมูลของเว็บไซต์
เนื้อหาเว็บไซต์ไม่ขัดต่อกฏหมายศีลธรรรม เเละจริยธรรรม
มีการระบุชื่อผู้เขียนบทความ หรือผู้ให้ข้อมูลบนเว็บไซต์
มีการอ้างอิงเเหล่งที่มา หรือเเหล่งต้นตอของข้อมูลที่มีเนื่อหาปรากฏบนเว็บไซต์
สามารถเชื่อมโยง (link) ไปเว็บไซต์อื่นที่อ้างถึงเพื่อตรวจสอบเเหล่ง ต้นตอของข้อมูลได้
มีการระบุวันเวลาในการเผยเเพร่ ข้อมูลบนเว็บไซต์
มีการให้ที่อยู่อีเมลที่ผู้อ่านสามารถติดต่อผู้ดูเเลเว็บไซด์ได้
มีช่องทางให้ผู้อ่านเเสดงความคิดเห็น
มีข้อมความเตือนผู้อ่านให้ใช้ วิจารณญาณในการตัดสินใจใช้ ข้อมูลที่ปรากฏบนเว็บไซต์
วิธีการ
เก็บข้อมูล
นำมาจัดเรียงลำดับจากมากไปน้อย
ใช้ค่าทางสถิติเปอร์เซ็นไทล์
เเหล่งที่มา
ข้อมูลที่น่าเชื่อถือต้องมีการ ระบุเเหล่งที่มาอย่างชัดเจน
เวลา
ข้อมูลที่มีคุณภาพควรมีความทันสมัย เเละมีการระบุช่วงเวลา
5.การใช้งานลิขสิทธิ์ที่เป็นธรรม
ลิขสิทธิ์ สิทธิแต่เพียงผู้เดียวที่จะกระทำใดๆเกี่ยวกับงานที่พูดสร้างสรรค์ได้ริเริ่มโดยการใช้สติปัญญาความรู้ความสามารถและความวิริยอุตสาหะของตนเองในการสร้างสรรค์ไม่ลอกเลียนงานของผู้อื่นโดยงานที่สร้างสรรค์ต้องเป็นงานตามประเภทที่กฎหมายลิขสิทธิ์ให้ความคุ้มครองโดยผู้สร้างสรรค์จะได้รับความคุ้มครองทันทีที่สร้างสรรค์โดยไม่ต้องจดทะเบียนกรมทรัพย์สินทางปัญญา
1.วัตถุประสงค์และลักษณะการใช้งานลิขสิทธิ์
ผู้นำไปใช้ต้องไม่มีวัตถุประสงค์เพื่อการค้นหาหรือหากำไรไม่มีเจตนาทุจริตและใช้เพื่อประโยชน์แก่สังคม
2.ลักษณะงานอันมีลิขสิทธิ์
ผู้นำไปใช้ต้องพิจารณาระดับของการสร้างสรรค์ผลงานการใช้ความวิริยอุตสาหะหรือการใช้จินตนาการสูงเช่นนวนิยายหรือการรายงานเหตุการณ์ที่เฉพาะ ้ไม่ควรนำผลงานเหล่านี้ไปใช้เพราะหากนำไปใชจะถือว่าไม่เป็นธรรม
3.ปริมาณของการนำไปใช้
การนำผลงานไปใช้ในปริมาณที่มากเกินไปหรือใช้ในปริมาณน้อยแต่เป็นส่วนสำคัญถือว่าเป็นการใช้งานที่ไม่เป็นธรรมเพราะกระทบต่อลิขสิทธิ์ทางกฎหมายของเจ้าของลิขสิทธิ์เกินสมควร
4.ผลกระทบต่อตลาดหรือมูลค่าของงานอันมีลิขสิทธิ์
การใช้งานที่มีลิขสิทธิ์ของบุคคลอื่นจะต้องไม่ขัดต่อการแสวงหาประโยชน์ตามปกติของเจ้าของผลงานอาจทำให้ผลงานนั้นขายไม่ได้
ตัวอย่างการใช้งานลิขสิทธิ์ที่เป็นธรรมเช่นการวิจัยหรือศึกษางานโดยละเอียดหากับกำไรเช่นนักเรียนทำสำเนาข้อความบางส่วนในบทความเพื่อไปทำแบบฝึกหัด
ตัวอย่างการใช้งานลิขสิทธิ์ที่ไม่เป็นธรรม เช่น 1 การใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์แบบทดลองใช้อย่างต่อเนื่องแม้ว่าจะหมดอายุการใช้งาน 2.การโหลดเพลงผู้อื่นไปขาย
4.กฎหมายเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ หรือ พระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ฉบับล่าสุดได้มีการประกาศใช้เมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ.2560 ซึ่งเป็น พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ ฉบับที่ 2
สำหรับคนที่ต้องใช้งานคอมพิวเตอร์เป็นประจำ หรือทำงานเกี่ยวกับโลกออกไลน์ต้องพึงรู้ไว้เลยค่ะ เพราะหากใช้ไม่ระวัง เราอาจจะเผลอทำผิดกฎหมายได้ วันนี้เราเลยมาฟื้นความจำอีกครั้ง มาดูกันสักหน่อยว่า พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ คืออะไร
เข้าถึงระบบ หรือข้อมูลของผู้อื่นโดยไม่ชอบ
แก้ไข ดัดแปลง หรือทำให้ข้อมูลผู้อื่นเสียหาย
ส่งข้อมูลหรืออีเมลก่อกวนผู้อื่น หรือส่งอีเมลสแปม
เข้าถึงระบบ หรือข้อมูลทางด้านความมั่นคงโดยมิชอบ
จำหน่ายหรือเผยแพร่ชุดคำสั่งเพื่อนำไปใช้กระทำความผิด
นำข้อมูลที่ผิด พ.ร.บ.เข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์
ให้ความร่วมมือ ยินยอม รู้เห็นเป็นใจกับผู้ร่วมกระทำความผิด
ตัดต่อ เติม หรือดัดแปลงภาพ
เผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับเยาวชน ต้องกระทำโดยปกปิดไม่ให้ทราบตัวตน
เผยแพร่เนื้อหาลามก อนาจาร
กด Like & Share ถือเป็นวิธีหนึ่งในการเผยแพร่ข้อมูล
แสดงความคิดเห็นที่ผิด พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์
ละเมิดลิขสิทธิ์ นำผลงานของผู้อื่นมาเป็นของตนเอง
3.การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศมีวัตถุประสงค์หลายอย่าง เช่น การทำงาน และการใช้งานทั่วไป
1.
การทำธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์อย่างปลอดภัย
การทำธุรกรรมผ่านอินเตอร์เน็ต หรือ ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์นั้นกลายเป็นเรื่องที่ใกล้ตัวมากขึ้น และในการทำธุรกรรมในอินเตอร์เน็ตควรที่จะมีความรอบคอบอีกด้วย
1.1
ทำธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ มี 2 ประเภท ดังนี้
1.การทำธุระกรรมโดยตรงระหว่างผู้ซื้อ และ ผู้ขาย โดยผ่านเครือข่ายสังคมต่างๆ
การทำธุระกรรมโดยผ่านผู้ให้บริการ เป็นรูปแบบการทำธุระกรรมที่มีผู้ให้บริการสนับสนุนการดำเนินการ หรือ ตัวกลาง โดยผู้ให้บริการสินค้าและบริการต่างๆ เช่น lazada shopee ฯลฯ
ข้อควรระวังการทำธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์
บางครั้งอาจมีมิจฉาชีพ ฉ้อโกง โดยใช้กลยุทธ์เรื่องราคาและจิตวิทยาในการล่อลวง
2.การรู้เท่าทันสื่อ คือ ความสามรถในการป้องกันตนเองจากการฉ้อโกงของผู้อื่นได้
ความรู้และความเข้าใจวิธีการทำงานของสื่อ วิธีที่สื่อสร้างความหมาย วิธีใช้สื่อ และวิธีประเมินข้อมูลข่าวสารที่สื่อนำเสนอ นอกจากนี้ ยังมีความหมายโดยนัยถึงความรู้และความเข้าใจในคุณค่าของบุคคลและทางสังคม หน้าที่รับผิดชอบที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศอย่างมีจริยธรรม ตลอดจนการมีส่วนร่วมในบทสนทนาเกี่ยวกับประชาธิปไตยและวัฒนธรรม"(พรทิพย์ เย็นจะบก, 2554)
3.ข่าวล่วงและผลกระทบ
ข่าวล่วง (fake news)
เป็นรูปแบบหนึ่งของการก่อกวน ซึ่งข่าวลวงจะนำเสนอเรื่องราวที่เป็นเท็จ มีวัตถุประสงค์แอบแฝงแตกต่างกัน
2.เหตุผลวิบัติ
ความหมาย
เหตุผลวิบัติ (fallacy) เป็นการอ้างเหตุผลที่บกพร่องอันเกิดจากความผิดพลาดในกระบวนการคิดหาเหตุผล (reasoning process) ทั้งแบบอุปนัยเละนิรนัยซึ่งส่งผลให้การอ้างเหตุผลนั้นเป็นการอ้างหตุผลที่วิบัติ (fallacious argument) ในส่วนที่เกี่ขวกับเหตุผลวิบัตินี้ มีสิ่งที่ควรสังเกตอย่อข่างหนึ่งคือ การพบว่ามีเหตุผลวิบัติในการอ้างเหตุผลใดนั้น มันไม่ได้ทำให้เราสามารถสรุปได้ว่าข้อสรุปนั้นเท็จ (falรe) ในกรณีที่การองเหตุผลบกพร่องหรือวิบัตินั้น มันหมายถึงว่า การอ้างเหตุผลนั้นจะไม่เป็นเหตุผลที่ทำให้เราเชื่อได้ว่าข้อสรุปนั้นถูก
เหตุผลวิบัติแบ่งได้ 2 ประเภท
เหตุผลวิบัติแบบเป็นทางการ
เกิดจากการให้เหตุผลที่ใช้หลักตรรกะที่ไม่ถูกต้อง แต่เขียนในรูปแบบที่เป็นทางการทำให้ดูสมเหตุสมผล
เหตุผลวิบัติแบบไม่เป็นทางการ การให้เหตุผลโดยอ้างถึงผู้พูดว่า มีพฤติกรรมขัดแย้งกับสิ่งที่พูดเพราะสิ่งที่พูดเชื่อถือไม่ได้เหตุผลที่พ่อให้เป็นเหตุผลที่ถูกต้อง แต่ลูกไม่ได้สนใจความถูกต้องแต่กลับไปสนใจพฤติกรรมของพ่อที่ขัดแย้งกับสิ่งที่พ่อกำลังสอนการให้เหตุผลโดยอ้างอิงถึงลักษณะของตัวบุคคลโดยไม่สนใจเนื้อหาสาระของข้อความ
ประเภทของเหตุผลวิบัติ
เหตุผลวิบัติ แบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท คือ
เหตุผลวิบัติทางรูปแบบ (Formal or Logical Fallacy)
ความหมาย
เหตุผลวิบัติทางรูปเบบ (formal or l ogical Fallacy) เป็นการอ้างเหตุผลบกพร่องที่เกี่ขวข้องกัการองเหตุผลแบบนิรนับโดยฉพาะ และมีลักษณะป็นความผิดพลาดในทางรูปเทซึ่งสามารถรู้ได้โดยการตรวงสอบรูปแบบหรือโครงสร้างของการอ้างเหตุผลหตุผลวิบัติทางรูปแบบมีหลายชนิด คือ
1.1 เหตุผลวิบัติของการคิดหาหตุผลโดยตรง
1.2 เหตุผลวิบัติของตรรกบท
1.3 เหตุผลวิบัติขอตรรกบทสันน็ษฐาน
1.4 เหตุผลวิบัติของตรรกกทเผื่อเลือก
1.5 เหตุผลวิบัติของตรรกบทใดประตู
เหตุผลวิบัติทางเนื้อหา (Informal or Material Fallacy)
ความหมาย
เหตุผลวิบัติทางเนื้อหา (Informal or Material Fallacy) เป็นความผิดพลาดในการอ้างเหตุผลแบบอุปนัยที่จะนพบได้โดยการวิเคราะห์เนื้อหาของการอ้างเหตุผล
แบบของเหตุผลวิบัติทางเนื้อหา เหตุผลวิบัติทางเนื้อหานั้นมีมาก แต่ในที่นี้จะกล่าวถึงเฉพาะบางแบบท่านั้นคือ
การด่วนสรุป
การใช้แนวเทียบผิด
การใช้สมมติฐานผิดความหมาย
การอ้างความเป็นสาเหตุผิด
เหตุผลวิบัติทางจิตวิทยา (Psychological Fallacy)
ความหมาย
เหตุผลวิบัติทางจิตวิกขา เป็นการอ้างเหตุผลบกพร่องที่เกิดขึ้นจากการใช้องค์ประกอบทางจิตวิทยามาช่วยให้ผู้อื่นขอมรับข้อสรุปที่เสนอแม้ว่าองค์ประกอบทางจิตวิทยาที่นำมาใช้เป็นข้ออ้างเหล่านั้นอาจจะเกี่ยวข้องหรือก่อให้เกิดผลในทางจิตวิทยา เช่น ทำให้กลัว สงสารเห็นใจ สร้างความรู้สึกให้อยากเป็นหรือไม่อยากเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่ม ฯลฯ ที่จะทำให้ขอมรับข้อสรุปที่เสนอแต่มันก็ไม่ได้เป็นสิ่งที่เกี่ยวข้องกับข้อสรุปในเชิงตรรกวิทยา ข้อสรุปที่ได้จากการคิดหาเหตุผลในลักษณะดังกล่าวนั้นบางครั้งอาจจะดูเหมือนว่าตามมาจากข้ออ้างและน่ายอมรับแต่ในทางตรรกวิทยาแล้วถือว่าเป็นการอ้างเหตุผลที่บกพร่อง เนื่องจากข้อสรุปนั้นไม่ได้เกี่ยวข้องหรือตามมาจากข้ออ้าง (ซึ่งมีองค์ประกอบทางจิตวิกขา) นั้นเลยในส่วนที่ีเกี่ยวข้องกับการคิดหาเหตุผล กล่าวคือ ความสัมพันธ์ระหว่างข้อสรุปกับข้ออ้างนั้นเป็นไปด้วยอารมณ์ (emotional) ไม่ได้เป็นไปด้วยเหตุผล ดังนั้น สำหรับเหตุผลวิบัติทางจิตวิทยาแล้ว เราจะต้องพิจารณาแยกความแตกต่างระหว่างการอ้างเหตุผลที่มีหลักฐานที่เเท้จริงกับการอ้างหตุผลที่องอารมณ์ความรู้สึก (emotional appeal) ที่เเสดงออกมาในหลายรูปแบบที่ต่าง ๆ กัน
แบบของเหตุผลวิบัติทางจิตวิทยา เหตุผลวิบัติทางจิตวิทยาที่ปรากฎในการอ้างเหตุผลนั้นมีมากมาย ในที่นี้จะกล่าวถึงเพียงบางส่วนและบางรูปแบบเท่านั้น คือ
การอ้างอำนาจ
การอ้างเมตตาธรรม
การอ้างคนส่วนมาก
การอ้างความไม่รู้
การโจมตีตัวบุคคล