Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
:star:การใช้เทคโนโลยีสาสนเทศอย่างรู้เท่าทัน, เหตุผลวิบัติสามารถจำแนกได้2แบ…
:star:การใช้เทคโนโลยีสาสนเทศอย่างรู้เท่าทัน
การประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูล
สามารถเชื่อมโยง(link)ไปเว็บไซต์อื่นที่อ้างอิงถึงเพื่อตรวจสอบแหล่งต้นตอของข้อมูลได้
มีการระบุวันเวลาที่เผยแพร่ข้อมูบบนเว็บไซต์
มีการอ้างอิงแหล่งที่มาหรือแหล่งต้อตอของข้อมูลทีมี่เนื้อหาปรากฏบนเว็บไซต์ :
เว็ยไซต์หรือแหล่งที่มาของข้อมูลต้องบอกวัตถุประสงค์ในการสร้างหรือเผยแพร่ข้อมูลไว้ในเว็บไซต์อย่างชัดเจน
เนื้อหาเว็บไซต์ไม่ขัดต่อกฏหมายศีลธรรมและจริยธรรม
มีข้อความตือนผู้อ่านให้ใช้วิจารณญาณในการตัดสินใจใช้ข้อมูลที่ปรากฏบนเว็บไซต์
การนำเสนอเนื้อหาต้องตรงตามวัตถุประสงค์ในการสร้างหรือเผยแพร่ข้อมูลของเว็บไซต์
มีช่องทางให้ผู้อ่านแสดงความคิดเห็น
มีการระบุชื่อผู้เขียนบทความหรือผู้ไห้ข้อมูลบนเว็บไซต์
มีการให้ที่อยู่หรืออีเมล ที่ผู้อ่านสามารถติดต่อผู้ดูแลเว็บไซต์ได้
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย
การทำธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์อย่างปลอดภัย
มี 2 ประเภท
1.การทำธุรกรรมโดยตรงระหว่างผู้ขายและผู้ซื้อ โดยผ่านทางเครือข่ายทางสังคมต่างๆหรือเว็บไซต์ของผู้ขาย
2.การทำธุรกรรมโดยผ่านผู้ให้บริการ เป็นรูปแบบการการทำธุรกรรมที่มีผู้ให้บริการสนับสนุนการดำเนินการหรือตัวกลาง
การใช้งานลิขสิทธิ์ที่เป็นธรรม
ลิขสิทธิ์ สิทธิแต่เพียงผู้เดียวที่จะกระทำการใดๆ เกี่ยวกับงานที่ผู้สร้างสรรค์ได้ริเริ่มโดยการใช้สติปัญญา ความรู้ ความสามารถ และความวิริยะอุตสาหะของตนเองในการสร้างสรรค์ ไม่ลอกเลียนงานของผู้อื่น โดยงานที่สร้างสรรค์ต้องเป็นงานตามประเภทที่กฎหมายลิขสิทธิ์ให้ความคุ้มครอง
ผู้ใดต้องการใช้ผลงานที่มีลิขสิทธิ์ (copyright) ต้องได้รับอนุญาตจากเจ้าของผลงาน เพราะกฎหมายให้ความคุ้มครอง แต่ก็มีข้อยกเว้นให้ใช้งานได้บางอย่างโดยไม่ต้องขออนุญาต หรือที่เรียกว่า การใช้งานลิขสิทธิ์ที่เป็นธรรม
มี2ประเภท
1.ใช้สิทธิ์ที่เป็นธรรม เช่น
การวิจัยโดยไม่แสวงหากำไร
การคัดลอกคำกล่าวหรือบทความโดยย่อและมีการอ้างอิง
2.ลิขสิทธิ์ไมเป็นธรรม เช่น
-การดาวโหลดเพลงผู้อื่นไปขาย
-ผู้นำไปใช้มีเจตนาทุจริต
วัตถุประสงค์และลักษณะการใช้งานลิขสิทธิ์
ลักษณะงานอันมีลิขสิทธิ์
ปริมาณของการนำไปใช้
ผลกระทบต่อตลาดหรือมูลค่าของงานอันมีลิขสิทธ์
การรู้เท่าทันสื่อ
คือ ความสามารถนารป้องกันตนเองจากการถูกโน้มน้าวด้วยเนื้อหาที่เป็นเท็จและมีผลกระทบต่อผู้รับสื่อเพื่อไม่ให้ตกเป็นเครื่องมือทางการตลาด
มี 3 ระดับ
ระดับที่1 ผู้รับสื่อตะหนักถึงความสำคัญของการเลือก
ระดับที่ 2 ผู้รับสื่อสามารถเรียนรู้ทักษะการรับสื่อแบบวิพากษ์
ระดับที่ 3 วิเคราะห์สื่อในเชิงสังคม การเมือง เศรษฐกิจ และวัฒนธรรมอย่างสร้างสรรค์
ข่าวลวงและผลกระทบ
ข่าวลวง (fake news) เป็นรูปแบบหนึ่งของการก่อกวน ซึ่งนำเสนอเรื่องราวเป็นเท็จ มีวัตถุประสงค์แอบแฝงที่แตกต่างกัน เช่น เพื่อขายสินค้า
ลักษณะของข่าวลวง เช่น
สร้างเรื่องราวเพื่อเป็นจุดสนใจในสังคม
สร้างความหวาดกลัว
กระตุ้นความโลภ
สร้างความเกลียดชัง
:fire:เหตุผลวิบัติ :fire:
คือการให้เหตุผลเป็นวิธีการหนึ่งที่สร้างความน่าเชื่อให้กับความคิดเห็นหรือข้อสรุปต่างๆ
เหตุผลวิบัติสามารถจำแนกได้2แบบ
1เหตุผลวิบัติแบบทางการ เกิดจากการให้เหตุผลที่ใช้หลักตรรกะไม่ถูกต้องแต่เขียนอยู่ในรูปทางการ
2.เหตุผลวิบัติแบบไม่เป็นทางการ เกิดจากการให้เหตุผลที่ไม่เกี่ยวข้องกับการใช้ตรรกะในการพิจารณาแต่เป็นการสันนิษฐาน ซึ่งทำให้เกิดความเข้าใจผิด
กฎหมายเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
การออกข้อกำหนด ระเบียบ และกฎหมายต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศ มีวัตถุประสงค์เพื่อให้การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นไปด้วยความเรียบร้อย
ประเทศไทยมีการออกพระราชบัญญัติต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศ และปรับปรุงมีความทันสมัยอย่างสม่ำเสมอ โดยรายละเอียดสามารถศึกษาได้จาก พระราชบัญญัติการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม พ.ศ.2560,
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2560
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
:star:
:star:
:explode:
:silhouettes:
:question:
:star:
:tada:
:silhouette:
:lock:
:warning:
:!?: