Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 การพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุมี่มีความผิดปกติทางจิชเวช…
บทที่ 5 การพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุมี่มีความผิดปกติทางจิชเวช บุคคลที่มีกลุ่มโรควิตกกังวล
ความหมาย
ความวิตกกงัวล(Anxiety)หมายถึง ความรู้สึกไม่สบายใจหวาดหวั่น ไม่มั่นใจตอ่สภาพการณ์ใน อนาคตเกรงว่าจะเกิดอนัตรายหรือความเสียหายเนอื่งจากมาการคุกคามความม่นัคงของบคุคลขณะเดียวกนัจะมี ความไมสุ่ขสบายทางร่างกายรว่มดว้ยหากมีความวิตกกงัวลมากหรือเป็นเวลานานๆจะมีผลเสียตอ่สขุภาพได
สาเหตุ
ปัจจัยทางชีววิทยา (Biological factors)
กรรมพนัธุ์(genetic)จากการศกึษาครอบครวัและฝาแฝดพบว่า พันธุกรรมมีความสมัพันธ์กับการเกิดโรควิตกังวล โรคpanicdisorder ฝาแฝดท่ีเกิดจากไข่ใบเดียวกัน ถ้ามีฝาแฝดคน หนึ่งป่วยเป็นโรคpanicdisorder ฝาแฝดอีกคนมีโอกาสป่วยเป็นโรคpanicdisorder ได้ร้อยละ30และมีความ เสี่ยงสงูในเครือญาติที่ใกลชิดมีโอกาสเกิด โรค panicdisorder ร้อยละ 10-20
กายวิภาคของระบบประสาท(neuroanatomical)มีการศกึษาพบว่าภาวะของอารมณ์อยู่ที่ limbic system,diencephalon(thalamusและhypothalamus) และreticularformation ถ้ามีความผิดปกติของสมอง ส่วนนี้ทำให้เกิด Anxietyได้และผู้ป่วย panicdisorder มีความผิดปกติของ temporallobesโดยเฉพาะ hippocampus
-สารชีวเคมี (biochemical) การมีbloodlactateสูงผิดปกติทาให้ผู้ป่วยมีอาการpanicdisorder หรือบคุ คลมีความผิดปกติของ thyroid hormone ทาให้เกิดความวิตกกังวลได้
ปัจจัยทางจิตวิทยา (Psychological factors)
ตามทฤษฎีจิตวิเคราะห์ (psychodynamictheory) Freudกล่าวว่า Egoเป็นสว่นหนึ่งของ บคุลิกภาพไม่สามารถจัดการ conflict ที่เกิดขึ้นกับ Idและ Superego ความวิตกกังวลเป็นการที่ego อยู่ อันตรายจากภาวะคกุคามทั้งจากภายในและภายนอกตัวบคุคล
ทฤษฎีสมัพนัธภาพระหว่างบคุคล ซัลลิแวด เชื่อว่าความวิตกกังวลเก่ียวข้องสัมพันธภาพกันกับปัญหาทาง อารมณ์ที่เกิดจากการไม่ได้ดรับการยอมรับจากคนรอบข้างในช่วงต้นของชีวิตแล้วจะมาเป็นตวตัวของการเกิด ความวิตกกังวลพบกับเหตกุารณ์ร้ายๆในชีวิตต่อๆมา
ลักษณะอาการของความวิตกกังวล
อาการทางร่างกายคือกล้ามเนื้อตึงเครียดเหนื่อยกระสับกระส่ายปากแห้งหนาวมือและเทา้เย็น ต้องการปัสสาวะ ตาพร่า กล้ามเนื้อสั่น กระตุก หน้าแดง เสียงสั่น อาเจียน หายใจถี่ BP เพิ่มขึ้น
อาการแสดงด้านจิตใจและอารมณ์ผู้ที่มีอาการวิตกกังวลอาจแสดงออกอาการทางอารมณ์ที่มีความ แตกต่างกันไปลักษณะอารมณ์ที่พบ ได้แก่ มีอาการกระสับกระส่ายหงุดหงิดซึมเศร้าร้องไห้โกรธรู้สึกไม่มีสมาธิ
อาการแสดงด้านพฤติกรรม ได้แก่ เดินไปเดินมาลุกลี้ลุกลน นั่งไม่ติด ที่เอามือเหมือนม้วนเส้นผม ระมัดระวังตัวเป็นพิเศษ
อาการแสดงด้านความคิด ความจำ ได้แก่ สนใจสิ่งแวดล้อมลดลง ไม่มีสมาธิ ไม่ตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้นรอบตัวทำให้วิตกกังวลหลงลืม สนใจสิ่งที่ผ่านมามากกว่าเรื่องที่กำลังจะเกิดขึ้น มีอาการครุ่นคิด
ระดับของความวิตกกังวล
วิตกกังวลระดับปกติ (Normal) เป็นความรู้สึกของบุคคลที่แสดงออกมาให้บุคคลรับรู้ว่ามีความไม่สบายใจ มีความรู้สึกหวสดหวั่นซึ่งเป็นระดับที่บุคคลจะรู้สึกต้องเตรียมพร้อมในการป้องกันตนเองจากสิ่งที่มาคุกคาม
วิตกกังวลระดับน้อย (Mild anxiety) ความวิตกกังวลในระดับน้อยสามารถเกิดได้ในชีวิตประจำวันจะ มีลักษณะตื่นตัวดี กระตือรือร้นสามารถสังเกตสิ่งแวดล้อมต่างๆได้ดี เรียนรู้ได้ดี มีความริเริ่มสามารถมองเห็นความเกี่ยวเนื่องของเหตุการณ์และอธิบายเรื่องราวต่างๆให้คนอื่นทราบได้อย่างชัดเจน ในระยะนี้บุคคลจะมีความสามารถในการรับรู้ความจริง เห็น ได้ยิน และได้รับข้อมูลมากความวิตกกังวลในระดับนี้บุคคลจะเรียนรู้ที่จะแก้หาวิธีแก้ปัญหาและอาจมีการแก้ไขปัญหาได้ดี
วิตกกังวลระดับปานกลาง (Moderate anxiety) จะมีการรับรู้ทางประสาทสัมผัสต่างๆทั้งการมองเห็น การฟังมีประสิทธิภาพลดลงความสนใจและสมาธิลดลงใการรับรู้แคบลง บุคคลจะมีอาการพูดเสียงสั่นๆ พูดเร็วขึ้นเริ่มมีอัตราการเต้นของหัวใจเพิ่มขึ้น ความดันโลหิตเพิ่มขึ้นและมีความสามารถแก้ไขปัญหาได้แต่ต้องใช้สมาธิมากขึ้น
วิตกกังวลระดับสูง (Severe anxiety) บุคคลที่มีความวิตกกังวลระดับสูงจะรับรู้เหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นในอนาคตได้น้อยลง ความสนใจจดจ่ออยู่กับแค่บางสิ่งบางอย่าง ไม่สามารถอธิบายสิ่งที่ต้องการพูดได้ พูดจาไม่รู้เรื่อง กระบวนการคิดไม่ดีซับซ้อนอาจเกิดช่วงก่อนที่บุคคลจะมองหาความช่วยเหลือ บุคคลนี้อยู่ในสภาวะนี้มีการรับรู้ลดลง เลือกสนใจสิ่งกระตุ้น มีพลังมากขึ้นกระสับกระส่าย ลุกลี้ลุกลน แก้ปัญหาที่เกิดขึ้นได้น้อยไม่รับรู้แล้วไม่เข้าใจเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง
วิตกกังวลระดับรุนแรง (Panic state) บุคคลที่มีความรู้ตกกังวลและบอกว่าความสามารถในการรับรู้หยุดชะงัก จะอยู่พูดไม่รู้เรื่อง ไม่สามารถสื่อสารกับบุคคลอื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ ไม่มีความสามารถในการกระทำสิ่งต่างๆ ความรู้สึกตัวอารมณ์ผิดปกติ การรับรู้ผิดไปจากความจริงจะ ไม่สามารถควบคุมตนเองได้ ระบบการทำงานของร่างกายเพิ่มขึ้นมี ความอดทนต่อสิ่งกระตุ้นต่างๆได้น้อยไม่สามารถรับรู้สิ่งใหม่ๆ หรือถ้ารับหนูก็รับผิดพลาด ความคิดเป็นเหตุเป็นผลลดลง แก้ปัญหาไม่ได้ดี มีความรู้สึกโกรธ ขาดที่พึ่ง เศร้าหดหู่ หมดอาลัยตายอยากในชีวิต แยกตัว พูดเสียงดังไม่ปะติดปะต่อเป็นประโยค
ลักษณะของความวิตกกังวล
Trait – anxiety or A –trait (ความวิตกกังวลประจำตัว )
คือลักษณะประจำตัวของแต่ละบุคคลที่มีอิทธิพลต่อการรับรู้ และการประเมินสิ่งเร้าโดยมีแนวโน้มที่จะรับรู้และประเมินหรือคาดคะเนสิ่งเราว่าน่าจะเกิดอันตรายหรืออาจคุกคามตนเองทำให้มีความวิตกกังวลเกิดขึ้น
State anxiety or A state (ความวิตกกังวลในขณะปัจจุบัน)
คือ ความวิตกกังวลที่เกิดขึ้นกับบุคคลในสถานการณ์เฉพาะหรือสิ่งหนึ่งสิ่งใดที่ทำให้เกิดความไม่พึงพอใจหรือจะเกิดอันตรายต่อบุคคลและจะแสดงพฤติกรรมที่สามารถสังเกตได้ในช่วงที่อยู่ในสถานการณ์นั้น
ชนิดของโรคในกลุ่มของโรควิตกกังวล
Generalized Anxiety Disorders (GAD)
ผู้ป่วยมีความวิตกกังวลมากผิดปกติต่อสถานการณ์ที่เกิดขึ้นในชีวิตได้แก่ การกลัวเกิดเหตุการณ์ร้ายๆ กับบุคคลใกล้ชิด เช่น การกลัวสามีถูกทำร้ายการ กลัวอุบัติติเหตุ
อาการมีอาการมีความวิตกกังวลมากผิดปกติจะค่อยๆ เกิดขึ้นอย่างน้อย 6 เดือน ขึ้นไปผู้ป่วยพบว่ายากที่จะควบคุมความกังวลความกังวลจะเกี่ยวข้องกับอาการอย่างน้อย 3 อาการทั้งหมดจากอาการ
-กระสับกระส่าย
-อ่อนเพลีย
-ไม่มีเรี่ยวแรง
-มีปัญหาด้านสมาธิ
-หงุดหงิดง่าย
-ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อตึงเครียดกล้ามเนื้อ
-มีปัญหาการนอน
Panic disorder
เป็นความรู้สึกกลัว หรือไม่สบายาใจอย่างรุนแรง ซึ่งเกิดขึ้นในระยะเวลารวดเร็วภายในไม่กี่นาทีและถึงระดับสูงสุดในระยะเวลา 10 นาทีจะต้องมีอาการอาการแสดงเกิดขึ้นอย่างน้อย 4 อาการดังนี้
-ใจสั่น หัวใจเต้นแรง
-เหงื่อออกมาก
-สั่นทั้งตัว
-หายใจเร็วถี่
-รู้สึกอยากอาเจียน
-เจ็บแน่นหน้าอก
-คลื่นไส้ ปั่นป่วนในท้อง
-วิงเวียน สมองตื้อ โคลงเคลง
-ร้อนๆหนาวๆตามตัว
-รู้สึกตัวชา
-กลัวควบคุมตัวเองไม่ได้
-กลัวตาย
Phobia disorder
เป็นความกลัวอย่างรุนแรงไม่มีเหตุผลกลัวเกินเหตุ และเกิดขึ้นบ่อยโดยไม่สามารถระงับหรือหักห้ามความกลัวนั้นได้
อาการเด่น
-การใช้ขนส่งมวลชน เช่น รถโดยสาร
-ที่โล่งกว้าง เช่น ลานจอดรถ ตลาด สะพาน
-สถานที่ที่มีผู้คนมาก เช่น ร้านค้า โรงภาพยนตร์ โรงละคร
-การเข้าคิวในแถว
-การอยู่นอกบ้านคนเดียวตามลำพัง