Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3.1 การพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาจิตสังคม บุคคลที่มีความวิตกกังวลและควา…
บทที่ 3.1
การพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาจิตสังคม
บุคคลที่มีความวิตกกังวลและความเครียด
ความหมาย
ความรู้สึกไม่สบาย สับสน กระวนกระวายกระสับกระส่าย ต่อสถานการณ์ใดสถานการณ์หนึ่งที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคตและเกรงว่าจะเกิดอันตรายหรือความเสียหายซึ่งอาจเกิดขึ้นจริงหรือคิดขึ้นเองจากสิ่งที่ไม่รู้
ความเครียด
ปฏิกิริยาตอบสนองของร่างกายและจิตใจที่มีต่อสิ่งกระตุ้น (stressor) ประเมินแล้วว่าสิ่งกระตุ้นนั้นคุกคามหรือทำให้ตนเองรู้สึกไม่มั่นคง ปลอดภัย
อาการและอาการแสดง
ด้านร่างกาย
หัวใจเต้นเร็ว ผิดจังหวะ เจ็บหน้าอก ใจสั่น
งเดินหายใจ จะมีอาการสะอีก หายใจเร็ว หายใจลำบาก
กลืนลำบาก ปากแห้ง ท้องอืด ท้องเฟ้อ อึดอัดแน่นท้อง
ด้านจิตใจและอารมณ์
หวาดหวั่น กลัว ขาดความเชื่อมั่นในตนเอง มองตนเองไร้ค่า สับสน กระวนกระวาย ตกใจง่าย หงุดหงิด
ด้านสังคม
ขาดความสนใจ ขาดความคิดริเริ่ม รู้สึกว่าช่วยเหลือตนเองไม่ได้ มีปัญหาเรื่องสัมพันธภาพกับผู้อื่น
ปฏิกิริยาการตอบสนองของร่างกายต่อความเครียด
ระยะเตือน
ระยะช็อก (shock phase)
ปฏิกิริยาและทำหน้าที่หลั่ง epinephrine and cortisone
บุคคลเตรียพร้อมที่จะสู้หรือถอยหนี ระยะอาจใช้เวลาประมาณตั้งแต่ 1 นาที ถึง 24 ชั่วโมง
ระยะตอบสนองการช็อก
ระยะการต่อต้าน (stage of resistance)
พยายามจำกัดสิ่งที่มากระตุ้นให้น้อยลงทำให้ความเครียดลดลงเข้าสู่ภาวะปกติ
ระยะหมดกำลัง (stage of exhaustion)
การปรับตัวในระยะการต่อต้านไม่สำเร็จร่างกายจะหมดแรงที่จะต่อสู้กับความครียด เกิดภาวะอ่อนล้า เหนื่อยและหมดแรง
ชนิดของความวิตกกังวล
ความวิตกกังวลปกติ (normal anxiety)
แรงผลักดันให้ชีวิตประสบความสำเร็จ มีผลให้บุคคลตื่นตัว กระตือรือร้นที่จะแก้ปัญหา
ความวิตกกังวลเฉียบพลัน (acute anxiety)
เกิดขึ้นในช่วงเวลาที่มีเหตุการณ์เข้ามากระทบหรือคุกคาม ทำให้บุคคลเกิดความวิตกกังวล
ความวิตกกังวลเรื้อรัง (chronic anxiety)
ความรู้สึกหวาดหวั่นไม่เป็นสุขขาดความมั่นคงปลอดภัยที่แฝงอยู่ในตัวของบุคคลตลอดเวลา เกิดจากการอบรมเลี้ยงดูของครอบครัวตั้งแต่เด็ก ขาดความรัก ความเอาใจใส่
ระดับของความวิตกกังวล
mild anxiety +1
เกิดขึ้นเป็นปกติในบุคคลทั่วไป จะช่วยกระตุ้นให้บุคคลตื่นตัว และพยายามแก้ปัญหาในการทำกิจกรรมต่งๆ ได้สำเร็จ บุคคลจะมีสติสัปชัญญะเพิ่มขึ้น
moderate anxiety +2
.ช้ความพยายามในการแก้ปัญหาสูงขึ้น สติสัปชัญญะยังคงมีอยู่แต่มีคลื่อนไหวมากขึ้นจเกือบจะลุกลี้ลุกลนเลือกสนใจเฉพาะสิ่งที่เกี่ยวข้องกับปัญหา
severe anxiety+3
สติสัมปชัญญะลดลง หมกมุ่นครุ่นคิดในรายละเอียดปลีกย่อย กระสับกระส่าย ไม่อยู่กับที่ ไม่สนใจสิ่งแวดล้อม บกพร่องของการทำบทบาทหน้าที่ในสังคม
panic anxiety +4
ขาดสติสัมปชัญญะ ตื่นตระหนก มึนงง สับสน วุ่นวาย เกรี้ยวกราด หวาดกลัวสุด อาจมีภาวะซึมเศร้า หลงผิด ประสาทหลอน แขนขาขยับไม่ได้ ไม่มีแรง
ชนิดของความเครียด
acute stress
วามเครียดที่เกิดขึ้นทันทีและร่างกายก็ตอบสนองต่อความเครียดนั้นทันที มื่อความเครียดหายไปร่างกายก็จะกลับสู่ภาวะปกติ
chronic stress
เกิดขึ้นทุกวันและร่างกายไม่สามารถตอบสนองต่อความครียดนั้น
ระดับของความเครียด
mild stress
เกิดขี้นได้ในชีวิตประจำวัน เนื่องจากมีสิ่งคุกคามหรือเหตุการณ์ที่ทำให้เครียด อาจรู้สึกวิตกกังวลหรือกลัวแต่ไม่แสดงออกถึงความเครียดที่ชัดเจน
moderate stress
เกิดขี้นได้ในชีวิตประจำวัน เนื่องจากมีสิ่งคุกคามหรือเหตุการณ์ที่ทำให้เครียด อาจรู้สึกวิตกกังวลหรือกลัวแต่ไม่แสดงออกถึงความเครียดที่ชัดเจน
high stress
ถานการณ์หรือเหตุการณ์รอบตัวที่แก้ใขจัดการปัญหานั้นไม่ได้ รู้สึกขัดแย้ง ปรับความรู้สึกด้วยความลำบากส่งผลต่อการใช้ชีวิตประจำวัน
severe stress
เป็นความเครียดระดับสูงและเรื้อรังต่อเนื่องหรือกำลังเผชิญกับวิกฤตของชีวิต เช่น เจ็บป่วยรุนแรง เรื้อรังมีความพิการ สูญเสียคนรัก
สาเหตุวิตกกังวล
ด้านชีวภาพ
ระบบประสทบกพร่องมาแต่กำเนิด
ด้านชีวเคมี
caffeine lactate ที่มีในเลือดสูงจะกระตุ้นให้เกิดอาการตื่นตระหนก
ด้านการเจ็บป่วย
สาเหตุด้านความเครียด
ภายนอก
สภาพภูมิอากาศ ภัยพิบัติ การย้ายถิ่นฐานที่อยู่ การเปลี่ยนงาน ความเจ็บป่วยของบุคคลอันป็นที่รัก การหย่าร้าง ภาวะว่างงาน
ภายในตัวบุคคล
ภาวะเจ็บปวยที่เผชิญอยู่ ความพิการ หรือความผิดปติของสรีะร่างกายที่มีมาแต่กำเนิด การเจริญเติบโต หรือพัฒนาการล่าช้า
การพยาบาล
สร้างสัมพันธภาพที่ดีกับผู้ป่วยเพื่อปิดโอกาสให้ผู้ป่วยได้ระบายความไม่สบายใจ
ใช้คำพูดง่าย ๆ ข้อความสั้น ๆ น้ำเสียงที่พูดต้องชัดจน นุ่มนวล
ให้กำลังใจโดยอาจสัมผัสผู้ป่วยเบา ๆ
ดูแลเอาใจใส่ผู้ป่วยที่มีอาการทางกาย
ดูแลป้องกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้นกับผู้ป่วยและบุคคลอื่น