Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3.3 การพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาจิตสังคม บุคคลที่มีภาวะสูญเสียและเศร้า…
บทที่ 3.3
การพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาจิตสังคม
บุคคลที่มีภาวะสูญเสียและเศร้าโศก
ความหมาย
การสูญเสีย (loss)
การที่บุคคลพลัดพรากจากบุคคล สัตว์เลี้ยง สิ่งของ อวัยวะ หรือ ความ
รู้สึกภาคภูมิใจในตนเอง ซึ่งบุคคลให้คุณค่าและให้ความหมายว่าเป็นสิ่งที่มีความสำคัญกับชีวิต
ภาวะเศร้าโศก (grief)
ปฏิกิริยาทางอารมณ์และจิตใจที่เกิดขึ้นภายหลังจากบุคคลเผชิญกับ
การสูญเสียหรือคาดว่าจะมีการสูญเสียเกิดขึ้น
การเศร้าโศกแบบปกติ(normal grief)
ระยะเฉียบพลัน ระยะนี้เกิดขึ้นในช่วง 4 – 8 สัปดาห์แรก บุคคลจะช็อค ไม่เชื่อ และไม่ยอมรับการสูญเสียที่เกิดขึ้น มีอาการตื่นตะลึง ตัวชา
ระยะเผชิญกับการสูญเสีย
มีความรู้สึกหายใจขัด ลำคอตีบตัน หมดแรง อ่อนเพลีย ตัวชา หน้ามืด คอแห้ง คลื่นไส้อาเจียน
การเศร้าโศกแบบผิดปกติ (maladaptive grief)
• แยกตัว และขาดทักษะในการสร้างสัมพันธภาพกับบุคคลอื่น ๆ
• ไม่สนใจตนเองและสิ่งแวดล้อม ไม่อยากทำอะไร แม้แต่กิจกรรมที่เคยชอบ
• ไม่มีเป้าหมายในการดำเนินชีวิต รู้สึกหมดหวัง และสิ้นหวังในชีวิต
• มีภาวะซึมเศร้าและความคิดฆ่าตัวตาย
ประเภทและลักษณะอาการและอาการแสดง
การสูญเสียสิ่งของภายนอก (loss of external object)
ทรัพย์สินเงินทอง
ที่อยู่อาศัยหรือการถูกแยกจากสภาพแวดล้อมเดิม
การสูญเสียตามช่วงวัย (maturational loss)
เด็กที่ต้องหย่านมแม่
ต้องออกจาก
โรงเรียนเมื่อสำเร็จการศึกษา
การสูญเสียภาพลักษณ์หรือ อัตมโนทัศน์
(loss of body image or some aspect ofself)
การสูญเสียอวัยวะในร่างกาย
การป่วยเรื้อรังทำให้เกิดภาวะทุพพลภาพ
การสูญเสียความรักหรือบุคคลสำคัญในชีวิต(loss of a love or a significant other)
ปฏิกิริยาต่อการสูญเสีย
ระยะช็อค (shock and disbelief)
บุคคลจะตกใจ ไม่
เชื่อ ปฏิเสธ
ระยะพัฒนาการตระหนักรู้ถึงการสูญเสีย
(developing awareness)
บุคลเริ่มมี สติรับรู้มากขึ้น
และตระหนักรู้ได้ถึงการสูญเสีย
ระยะพักฟื้น (restitution)
บุคคลจะมีการปรับตัวเพื่อฟื้นคืนสู่ภาวะปกติ เริ่ม ยอมรับความจริง
การหมกมุ่นคิดถึงสิ่งที่สูญเสียน้อยลง
การประเมินภาวะสูญเสีย เศร้าโศก
ประเมินระดับความรุนแรงของอาการและอาการแสดงที่เป็นผลจากความสูญเสียแบบองค์ รวม
ประเมินระดับการให้คุณค่า และความหมายของสิ่งสูญเสียในมุมมองของผู้ป่วย
ประเมินลักษณะบุคลิกภาพของผู้ป่วย
ประสบการณ์การสูญเสียในอดีต รูปแบบที่ใช้จัดการการสูญเสียและภาวะเศร้าโศกของผู้ป่วย
การวินิจฉัยทางการพยาบาล
เป้าหมายระยะสั้น
เพื่อลดภาวะซึมเศร้าหรืออาการแสดงที่เป็นภาวะเศร้าโศรกแบบผิดปกติให้กลับสู่ภาวะปกติ
เพื่อให้การรักษาพยาบาลเรื่องอาการและอาการแสดงทางกายให้กลับสู่ภาวะปกติโดยเร็ว
เป้าหมายระยะยาว
เพื่อฝึกทักษะการยอมรับความจริงของชีวิตโดยเฉพาะในเรื่องการสูญเสีย
เพื่อฝึกการใช้วิธีในการเผชิญปัญหาที่สร้างสรรค์
กิจกรรมการพยาบาล
สร้างสัมพันธภาพแบบตัวต่อตัว ให้เกิดความไว้วางใจในตัวพยาบาล
พยายามรับฟังอย่างเข้าใจ ยอมรับในพฤติกรรม และมุ่งเน้นให้ผู้ป่วยได้ระบายความรู้สึกต่อการสูญเสียนั้น
ช้เทคนิคการสื่อสารเพื่อช่วยให้ผู้ป่วยได้ระบายความรู้สึกต่อการสูญเสียที่เกิดขึ้น
ช่วยให้ผู้ป่วยสามารถจัดการกับความรู้สึกค้างคาใจที่มีต่อผู้ที่เสียชีวิตไปแล้วได้อย่างเหมาะสม