Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 การพยาบาลบุคคลที่มี ปัญหาทางจิตสังคม 3.3 การพยาบาลบุคคลที่มีภาวะ…
บทที่ 3 การพยาบาลบุคคลที่มี
ปัญหาทางจิตสังคม
3.3 การพยาบาลบุคคลที่มีภาวะ
สูญเสีย เศร้าโศก
ความหมายของภาวะสูญเสียและเศร้าโศก
การสูญเสีย พลัดพรากจากบุคคล สัตว์เลี้ยง สิ่งของ อวัยวะ หรือความรู้สึกภาคภูมิใจในตนเอง
เศร้าโศก หลังจากบุคคลเผชิญกับ
การสูญเสียหรือคาดว่าจะมีการสูญเสียเกิดขึ้น
ประเภทและลักษณะอาการและอาการแสดงของภาวะสูญเสีย เศร้าโศก
ประเภทและลักษณะอาการและอาการแสดงของภาวะสูญเสีย
สูญเสียตามช่วงวัย
สูญเสียภาพลักษณ์หรือ อัตมโนทัศน์
สูญเสียสิ่งของภายนอก
สูญเสียความรักหรือบุคคลสำคัญในชีวิต
ปฏิกิริยาต่อการสูญเสีย
ระยะช็อค ตกใจ ไม่เชื่อ ปฏิเสธ รู้สึกมีนชาใน 2 -3 ชั่วโมงถึง 2 -3 สัปดาห์
ระยะพัฒนาการตระหนักรู้ถึงการสูญเสีย ตระหนักรู้ได้ถึงการสูญเสีย ไม่กี่นาทีหรือเป็นชั่วโมง ใช้เวลา 2 – 3
สัปดาห์แล้วจะดีขึ้นเองใน 2 – 4 เดือน ไม่เกิน 6 เดือน
ระยะพักฟื้น ยอมรับความจริง มองหาสิ่งใหม่ทดแทน
ลักษณะอาการและอาการแสดงของภาวะเศร้าโศก
การเศร้าโศกแบบปกติ
ระยะเฉียบพลัน 4 – 8 สัปดาห์แรก บุคคลจะช็อค ไม่เชื่อ
และไม่ยอมรับการสูญเสียที่เกิดขึ้น
ระยะเผชิญกับการสูญเสีย
อาการแสดงทางกาย หายใจขัด ลำคอตีบตัน หมดแรง
อ่อนเพลีย ตัวชา หน้ามืด คอแห้ง คลื่นไส้อาเจียน
อาการแสดงทางจิตใจ คิดหมกมุ่น ไม่ยอมรับความจริง ใช้เวลา 20 – 60 วันแรก
การเศร้าโศกแบบผิดปกติ
chronic grief reaction เรื้อรัง ยาวนานหลายปี ความคิด หมกมุ่นเกี่ยวกับ ความทรงจำเก่าๆ
delayed grief reaction ล่าช้า รุนแรงมากถ้าเกิดการกระตุ้น กลไกทางจิตชนิดปฏิเสธความจริง
การพยาบาลบุคคลที่มีภาวะสูญเสีย เศร้าโศก
การประเมินภาวะสูญเสีย เศร้าโศก
การวินิจฉัย
เป้าหมายระยะสั้น
รักษาอาการและอาการแสดงทางกายให้กลับสู่ภาวะปกติ
แหล่งสนับสนุนช่วยเหลือ
ลดภาวะซึมเศร้าหรืออาการแสดง
เป้าหมายระยะยาว
ยอมรับความจริง
ใช้วิธีในการเผชิญปัญหาที่สร้างสรรค์
ตัวอย่างการเขียนข้อวินิจฉัย
ขาดทักษะในการเผชิญปัญหา เมื่อต้องสูญเสียบุคคลอันเป็นที่รัก
นอนหลับพักผ่อนไม่เพียงพอ เนื่องจากมีภาวะซึมเศร้าจากการสูญเสีย
เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายซ้ำเนื่องจากมีภาวะซึมเศร้าจากการสูญเสียบุคคลอันเป็นที่รัก
มีความรู้สึกผิดและโทษตนเองว่าเป็นสาเหตุของการสูญเสียบุคคลอันเป็นที่รัก
กิจกรรมการพยาบาล
เทคนิคการสื่อสาร
ส่งเสริมให้เขามองเห็นคุณค่าในตนเอง
ฟังอย่างเข้าใจ ยอมรับในพฤติกรรม
จัดให้เข้ากลุ่มกิจกรรมบำบัดร่วมกับผู้ป่วยที่มีปัญหาคล้ายๆ กัน
สัมพันธภาพแบบตัวต่อตัว
การประเมินผล
ตระหนักรู้ตนเองถึงระดับความรุนแรง
สัมพันธภาพกับผู้อื่น
ภาวะเศร้าโศกลดลง
สร้างเป้าหมายในชีวิต
วิธีการเผชิญหน้าปัญหาที่เหมาะสม