Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคบุคคลที่มีความผิดปกติทางเพศ - Coggle Diagram
โรคบุคคลที่มีความผิดปกติทางเพศ
:confetti_ball:ความหมาย ลักษณะอาการและอาการแสดงของบุคคลที่มีความผิดปกติทางเพศ
ความหมายของบุคคลที่มีความผิดปกติทางเพศ
ภาวะความไม่พึงพอใจในเพศตนเอง (gender dysphoria) เป็นความรู้สึกอึดอัดคับข้องใจที่เกิดจากความไม่สอดคล้องกันของเพศที่จิตใจต้องการเป็นกับเพศกำเนิดที่เป็นอยู่
ความผิดปกติทางเพศ (sexual dysfunctions) เป็นกลุ่มอาการความผิดปกติที่รบกวนความสามารถของบุคคลในการตอบสนองทางเพศหรือการมีควมสุขทางเพศ
ลักษณะอาการและอาการแสดงของบุคคลที่มีความผิดปกติทางเพศ
ภาวะความไม่พึงพอใจในเพศตนเอง (gender dysphoria)
ภาวะความไม่พึงพอใจในเพศในเด็ก (gender dysphoria in children)
ภาวะความไม่พึงพอใจในเพศในวัยรุ่นและวัยผู้ใหญ่ (gender dysphoria in adolescents and adult)
ภาวะความไม่พึงพอใจในเพศตนเองที่ไม่เข้าเกณฑ์การวินิฉัย (other specified gender dysphoria)
ภาวะความไม่พึงพอใจในเพศตนเองที่ยังไม่สามารถวินิจฉัยได้ (unspecified gender dysphoria)
ความบกพร่องในหน้าที่ทางเพศ (sexual dysfunctions)
ภาวะหลั่งช้า (delayed ejaculation)
ความผิดปกติเกี่ยวกับการแข็งต้วของอวัยวะเพศชาย หรือการหย่อนสมรรถภาพทางเพศ (erectile disorder)
ความผิดปกติเกี่ยวกับความรู้สึกถึงจุดสุดยอดในหญิง (female orgasmic disorder)
พฤติกรรมทางเพศที่วิปริต (paraphilic dysfunctions) เป็นความผิดปกติที่บุคคลมีจินตนาการ อารมณ์เร้าทางเพศ
:confetti_ball:สาเหตุ การบำบัดรักษาของบุคคลที่มีความผิดปกติทางเพศ
สาเหตุของความผิดปกติทางเพศ
ความบกพร่องในหน้าที่ทางเพศ (sexual dysfunctions)
ปัจจัยที่มีผลต่อความผิดปกติเกี่ยวกับการแข็งต้วของอวัยวะเพศชายอาจเกิดจากการพยายามควบคุมตนเองที่มาก เกินไป
ปัจจัยที่มีผลต่อความผิดปกติเกี่ยวกับความสนใจ/ความรู้สึกตื่นเต้นทางเพศในหญิง ได้แก่ พันธุกรรม การเจ็บป่วยทางร่างกายและทางจิต
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะหลั่งช้า (delayed ejaculation) ได้แก่ อายุที่เพิ่มขึ้น
ภาวะความไม่พึงพอใจในเพศตนเอง (gender dysphoria)
ปัจจัยทางชีวภาพ การมีระดับของฮอร์โมนของเพศตรงข้ามสูงกว่าปกติตั้งแต่ตั้งครรภ์
ปัจจัยทางจิตสังคม การพัฒนาเอกลักษณ์ความเป็นหญิงชายของบุคคลนั้น เป็นผลจากหลาย ปัจจัยร่วมกัน
การบำบัดรักษาของบุคคลที่มีความผิดปกติทางเพศ
ภาวะหลั่งช้า (delayed ejaculation) การรักษาที่ใช้ ได้แก่ การ ทำจิตบำบัดแบบปรับความคิดและพฤติกรรม (cognitive behavior therapy: CBT) หรือการเพิ่มการกระตุ้นทางเพศ ด้วยเครื่องกระตุ้น (vibrator)
ความผิดปกติเกี่ยวกับการแข็งต้วของอวัยวะเพศชาย จัดการแก้ที่ต้นเหตุ เช่น การงดสุราและบุหรี่ การ ปรับเปลี่ยนยาประจำที่ใช้หากมีผลข้างเคียงเรื่องเพศ การลดอาหารที่มีไขมันสูง
ความผิดปกติเกี่ยวกับความสนใจ/ความรู้สึกตื่นเต้นทางเพศในหญิงจัดการที่สาเหตุ ได้แก่ การให้ ฮอร์โมนเพศทดแทน การจัดการตามอาการ เช่น การแนะนำให้ใช้สารหล่อลื่น
:confetti_ball:การพยาบาลบุคคลที่มีความผิดปกติทางเพศ
การประเมินผลทางการพยาบาล
ตัดสินใจใช้ชีวิตตามความต้องการของตนโดยไม่มีความรู้สึกขัดแย้งในใจ
บอกถึงแหล่งขอความช่วยเหลือในการควบคุมตนเองหากต้องการได้
การปรับเปลี่ยนทัศนคติทางลบต่อเรื่องเพศมีความเป็นกลางหรือเป็นบวกมากขึ้น
การประเมินสภาพ
ความบกพร่องในหน้าที่ทางเพศ
ประวัติทางเพศในอดีต เช่น การอบรมสั่งสอนเรื่องเพศจากบิดามารดา การเรียนรู้เร่ืองเพศ ประสบการณ์ทางเพศตั้งแต่วัยเด็กถึงปัจจุบัน
ประวัติทั่วไป เช่น โครงสร้างพื้นฐานของครอบครัว รูปแบบการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
ภาวะความไม่พึงพอใจในเพศตนเอง
ประวัติของครอบครัว เช่น ทัศนคติของบิดามารดาต่อเพศของเด็ก รูปแบบการเลี้ยงดู สัมพันธภาพของบิดามารดากับเด็ก
ประวัติทั้งปัจจุบันและในวัยเด็ก เช่น ความคิดความรู้สึกต่อเพศที่ตนเป็น
พฤติกรรมทางเพศที่วิปริต
การทำร้ายตนเอง เนื่องจากผู้ป่วยที่มารับการบำบัดมักมีความรู้สึกละอายใจอย่างมากกับ พฤติกรรมทางเพศของตนและสูญเสียควมภาคภูมิใจในตนเอง
ปัญหาที่นำผู้ป่วยมาโรงพยาบาล (presenting problems) เช่น อาการซึมเศร้า
การวางแผนและการปฏิบัติทางการพยาบาล
ภาวะความไม่พึงพอใจในเพศตนเอง
ให้ความรู้แก่ผู้ปกครองและครูเกี่ยวก้บเรื่องเพศและการดูแลเด็กที่เหมาะสม
ประเมินและซักประวัติอย่างครอบคลุมเพื่อประเมินว่าเด็กเข้าเกณฑ์การวินิจฉัยgender dysphoric
พฤติกรรมทางเพศที่วิปริต
ให้โอกาสผู้ป่วยได้ระบายความรู้สึกที่มีต่อพฤติกรรมของตน ความวิตกกังวลที่มี ความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง และผลกระทบที่เกิดจากพฤติกรมทางเพศที่เป็นปัญหา
ป้องกันการทำร้ายตนเองด้วยการประเมินการทำร้ายตนเองของผู้ป่วย
ความบกพร่องในหน้าที่ทางเพศ
สังเกตท่าทางการแสดงออก ประเมินความรู้สึกวิตกกังวลและความเครียด รวมถึง สัญญาณที่ผู้ป่วยอาจสื่อให้รู้ว่ามีความกังวลเกี่ยวกับเรื่องเพศ
ส่งเสริมบรรยากาศการสนทนาพูดคุยเกี่ยวกับพฤติกรรมทางเพศ ให้เป็นเรื่องธรรมดา (normalization)
จัดสิ่งแวดล้อมที่มีความป็นส่วนตัวและรักษาความลับของผู้ป่วย