Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5.1 การพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุที่มีการเจ็บป่วยทางจิตเวชโรคความผิ…
บทที่ 5.1
การพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุที่มีการเจ็บป่วยทางจิตเวชโรคความผิดปกติของการรับประทานอาหาร
ความหมายของโรคความผิดปกติของการรับประทานอาหาร
โรคความผิดปกติของการรับประทานอาหาร (eating disorder)ที่บิดเบือนจากความเป็นจริงอย่างรุนแรง
(anorexia nervosa)
ปฏิเสธการมีน้ำหนักตัวปกติมีความกลัวอย่างรุนแรงเกี่ยวกับการเพิ่มขึ้นของน้ำหนักตัวทั้งที่น้ำหนักตัวน้อย
ลักษณะอาการและอาการแสดง
ผู้ป่วยปฏิเสธการรับประทานอาหารเพื่อคงไว้ซึ่งน้ำหนักตัวในระดับปกติ เช่น การออกกำลังกายอย่างหักโหม งดรับประทานอาหารอย่างคร่งครัด ด้วยเหตุนี้จึงทำให้ผู้ป่วยน้ำหนักตัวต่ำกว่าเกณฑ์ปกติอย่างมีนัยสำคัญ
ผู้ป่วยจะให้คุณค่ากับตนเองในการประสบความสำเร็จในการลดน้ำหนักตัวและรูปร่าง
ผู้ป่วยมักมีความคิดเห็นกี่ยวกับผู้อื่นผิดปกติไปเพราะมักคิดว่าตนเองปกติแต่ผู้อื่นผิดปกติ
ผู้ป่วยจะให้คุณค่ากับตนเองในการประสบความสำเร็จในการลดน้ำหนักตัวและรูปร่าง
ผู้ป่วยมักมีการขาดประจำเดือนร่วมด้วย
(bulimia nervosa)
ความรู้สึกผิดปกติ เห็นอาหารแล้วเกิดความอยากบริโภคและบริโภคได้ในปริมาณมากกว่าปกติโดยไม่สามารถควบคุมตนเองได
ลักษณะอาการและอาการแสดง
รับประทานที่รับประทานอาหารในช่วงเวลาสั้นๆ ครั้งละมากๆ
ไม่สามารถที่จะควบคุมการรับประทานได้ในระหว่างนั้น
พฤติกรรมชดเชยในลักษณะที่ไม่เหมาะสมอยู่เป็นระยะๆ ทำให้อาเจียน
สาเหตุของโรคความผิดปกติของการรับประทานอาหาร
1) ปัจจัยด้านชีวภาพ (biological factors)
ด้านพันธุกรรม
ด้านสารสื่อประสาทในสมอง (serotonin) มากที่สุด
2) ปัจจัยทางด้านจิตใจ (psychological factors)
พัฒนาการของจิตใจ ระยะปาก (oral stage) วัยรุ่นจึงให้ความหมายความพึงพอใจจากการรับประทานอาหารเหมือนกับ
ว่าเป็นความพึงพอใจทางเพศ
บุคลิกภาพ เจ้าระเบียบ จริงจัง ต้องการความสำเร็จสูง ทำ
ทุกอย่างสมบูรณ์แบบอยู่ตลอดวลา (perfectionist) สึกมีคุณค่าในตนเองต่ำ (low self-esteem) ขาดความมั่นใจในตนเอง (self-doubts)
ลักษณะการเลี้ยงดู มารดาที่มีลักษณะปกป้องลูกมากเกินไป(overprotection) เข้มงวดในกฎระเบียบมาก ะรู้สึกว่าตนเองไม่สามารถควบคุมสิ่งใดได้เลยรวมทั้งการรับประทานอาหาร
3) ปัจจัยทางสังคมและวัฒนธรรม (sociocultural factors)
สัมพันธภาพในครอบครัว
ดารา, นักแสดง
การบำบัดรักษาโรคความผิดปกติของการรับประทานอาหาร
1) การบำบัดรักษาทางกาย
การขาดความสมดุลของสารน้ำโดยเฉพาะอย่างยิ่งโปแตสซียมที่มีระดับต่ำกว่าปกติ ซึ่งผลข้างเคียงนี้จะสัมพันธ์กับพฤติกรรมล้วงคออาเจียน
ต้องการการดูแลรักษาอย่างใกล้ชิดให้ได้รับสารอาหารอย่างเพียงพอไม่ว่าจะทางปาก ทางสายให้อาหาร 1,000-1,600 kcal/day และ
เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ จนถึง 3,000-4,000 kcal/day เพิ่มน้ำหนักประมาณ 1-1.4 กิโลกรัม/สัปดาห์ ผู้ป่วยใน และ 0.5 กิโลกรัม/สัปดาห์
2) การบำบัดรักษาด้วยยา
ยาต้านเศร้ากลุ่ม selective serotonin reuptake inhibitor (SSR) ได้แก่
(fluoxetine)
ยาต้านเศร้ากลุ่ม tricyclic antidepressant (ICAs) ได้แก่ (amitriptyline)
(imipramine) ใช้รักษาบุคคลที่เป็นบูลิเมีย เนอร์โวซ่า
ยาต้านโรคจิตกลุ่มใหม่ ได้แก่ (olanzapine) และ (risperidone) ใช้รักษาบุคคลที่เป็นอนอเรคเซีย เนอร์โวซ่า
ยากระตุ้นความอยากอาหาร ได้แค่ megestrolacetate
3) จิตบำบัดรายบุคคล (individual psychotherapy)
ต้องได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่องอย่างน้อย 1 ปี
4) การบำบัดความคิด (cognitive therapy)
การบำบัดด้านความคิดจึงมีเป้าหมาย เพื่อแก้ไขความคิดและความคิดรวบยอด เกี่ยวกับตนเองทั้งเรื่องรูปร่างและน้ำหนักตัวที่บิดเบื่อนจากความจริงอย่างรุนแรง
5) พฤติกรรมบำบัด (behavioral therapy)
สังเกตอาการของการรับประทาน
อาหาร
6) ครอบครัวบำบัด (family therapy)
7) กลุ่มบำบัด (group therapy)
พฤติกรรมแยกตัวออกจากคนอื่น
8) โภชนาการบำบัด (nutrition therapy
9) อาชีวบำบัต (occupational therapy)
ได้เรียนรู้การวางแผนในการเลือกซื้อหารและประกอบอาหารตัวยตนเอง