Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะออทิซึมสเปกตรัม - Coggle Diagram
ภาวะออทิซึมสเปกตรัม
:check:การพยาบาลเด็กที่มีภาวะออทิซึมสเปกตรัม
การวางแผนและการปฏิบัติทางการพยาบาล
การพยาบาลช่วยเหลือด้านเด็กที่มีภาวะออทิซึมสเปกตรัม
การฝึกกิจวัตรประจำวัน คือ การฝึกให้เด็กรู้จักทำกิจวัตรประจำวัน
ฝึกทักษะการสื่อความหมาย การฝึพูดเริ่มด้วยการสร้างสัมพันธภาพร่วมกับเด็ก
ฝึกทักษะทางสังคม ควรจะสอนให้เด็กรู้จักแสดงความรู้สึกภายในใจออกมา
แก้ไขพฤติกรรมที่ไม่หมาะสม ปัญหาพฤติกรรมที่ไม่รุนแรง
การพยาบาลช่วยเหลือครอบครัวเด็กที่มีภาวะออทิซึมสเปกตรัม
ช่วยลดความวิตกกังวลของพ่อแม่ ด้วยการให้ความช่วยเหลือปัญหาที่พ่อแม่ต้องเผชิญ
แสดงความเข้าใจยอมรับความรู้สึกของพอแม่ที่มีลูกที่มีภาวะออทิซึมสเปกตรัม
การประเมินสภาพ
การซักประวัติ เป็นการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับอาการสำคัญ ประวัติการเจ็บป่วยในปัจจุบัน ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต
การประเมินทางร่างกาย
ผลการตรวจอื่นๆ เช่น ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
PDDSQ ที่ใช้คัดกรองเด็กที่มีอายุ 1-4 ปี
การตรวจร่างกาย
PDDSQ ที่ใช้คัดกรองเด็กที่มีอายุ 4-18 ปี
การประเมินผลทางการพยาบาล
ประเมินผลหลังให้การพยาบาลตามตัวชี้วัดที่ได้กำหนดไว้ในเกณฑ์การประเมินผล
พยาบาลจะต้องนำผลที่ประเมินได้มาปรับ แผนการพยาบาลหรือปรับกลยุทธ์ในการพยาบาลเพื่อแก้ไขปัญหาของเด็กที่มีภาวะออทิซึมสเปกตรัมต่อไป
:check:ความหมาย ลักษณะอาการและอาการแสดงของภาวะออทิซึมสเปกตรัม
ลักษณะอาการและอาการแสดงของภาวะออทิซึมสเปกตรัม
มีแบบแผนพฤติกรรม ความสนใจ หรือกิจกรรมที่จำกัดซ้ำๆ
มีความสนใจที่จำกัดในขอบเขตที่จำกัดหรือเฉพาะเจาะจง
มีการตอบสนองต่อการรับสัมผัสสิ่งเร้าที่เข้ามากระตุ้น
ยึดติดกับสิ่งเดิม กิจวัตรประจำวันเดิม หรือแบบแผนการสื่อสารเดิมๆ
มีการแสดงกิริยาบางอย่างซ้ำ (mannerism)
มีความบกพร่องด้านการสื่อสารและด้านปฏิสัมพันธ์ทางสังคมในหลายบริบท
มีความผิดปกติทางอารมณ์และทางสังคม
มีความบกพร่องด้านการสื่อสาร
มีความบกพร่องในการสร้าง รักษา และเข้าใจในสัมพันธภาพ
ความหมายของภาวะออทิซมสเปกตรัม
กลุ่มโรคที่มีความผิดปกติของพัฒนาการทางระบบประสาท
มีความบกพร่องของพัฒนาการด้านปฏิสัมพันธ์ทางสังคม การสื่อสารร่วมกับความผิดปกติของพฤติกรรม และความสนใจหมกหมุ่นในบางเรื่อง
:check:สาเหตุ การบำบัดรักษาของภาวะออทิซึมสเปกตรัม
สาเหตุของของภาวะออทิซึมสเปกตรัม
ปัจจัยทางสมอง
มีช่องว่างในสมอง (ventricle) มีขนาดใหญ่กว่าปกติ ขนาดเซลล์สมองที่มีขนาดเล็ก หรือ ใหญ่กว่าปกติ
มีความผิดปกติของสารเคมีในสมอง
ปัจจัยในระยะตั้งครรภ์
ภาวะที่ไม่เข้ากันของภูมิคุ้มกันระหว่างมารดาและทารก
อายุพ่อแม่ พบว่า เด็กที่เกิดกับพ่อแม่ที่มีอายุมากขึ้น เด็กที่คลอดก่อนกำหนด
ปัจจัยทางพันธุกรรม
ในคู่ฝาแฝดแท้ (ไข่ใบเดียวกัน) ที่มีคนหนึ่งมีภาวะออทิซึม สเปกตรัมแล้วแฝดอีกคนมีโอกาสเกิดภาวะออทิซึมสเปกตรัมเพิ่มสูง
สำหรับในคู่ฝาแฝดเทียม (ไข่คนละใบ) จะมีโอกาสเกิดภาวะออทิซึมสเปกตรัมลดลง
การบำบัดรักษาภาวะออทิซึมสเปกตรัม
พัฒนาทักษะด้านการสื่อสาร
การทำอรรถบำบัด (speech therapy) ซึ่งถือว่าเป็นการส่งเสริมพัฒนาการด้านการสื่อสารที่สำคัญ
ให้เด็กที่มีพัฒนาการด้านภาษาล่าช้าให้มีพัฒนาการที่กลับมาใกล้เคียงกับเด็กที่มีพัฒนาการ ปกติมากที่สุด
พัฒนาด้านทักษะทางสังคม
การฝึกเด็กให้ใช้ภาษาทางกายให้เหมาะสม
สบสายตาบุคคลอื่นเวลาต้องการสื่อสาร
การรักษาทางยา
ยา haloperidol กับ risperidone ที่ใช้บรรเทาอาการหงุดหงิด พฤติกรรมวุ่นวาย ก้าวร้าว พฤติกรรมทำร้ายตนเองหรือผู้อื่น
ยา methylphenidate ที่ใช้บรรเทาอาการขาดสมาธิ พฤติกรรมอยู่ไม่นิ่ง
พฤติกรรมบำบัด
สิ่งที่จำเป็นยิ่งในเด็กที่มีภาวะออทิซึมสเปกตรัมที่จะ ช่วยให้เด็กสามารถควบคุมกับพฤติกรรมตนเองได้ในอนาคต
การส่งเสริมพฤติกรรมที่เหมาะสม การหยุด พฤติกรรมที่เป็นปัญหา และการสร้างพฤติกรรมใหม่ทต้องการ
การบำบัดทางความคิด และพฤติกรรม
เพื่อลดความวิตกกังวลซึ่งมัก เป็นโรคร่วมในเด็กที่มีภาวะออทิซึมสเปกตรัม
การให้คำแนะนำครอบครัว
การเสริมพลังอำนาจให้กับครอบครัวเด็กออทิซึมสเปกตรัม ให้มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับภาวะออทิซึมสเปกตรัมที่ถูกต้อง
การฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการศึกษา
การจัดการศึกษาให้เหมาะสมสอดคล้องกับความต้องการของเด็ก โดยการจัดโปรแกรม
การศึกษาแบบรายบุคคล
การจัดการเรียนการสอนที่มีหลากหลายทางเลือก เช่น การศึกษา พิเศษเฉพาะทาง, การเรียนร่วม
ดนตรีบำบัด
พัฒนาทักษะที่จำเป็นนการสร้าง ปฏิสัมพันธ์ทางสังคม ฝึกการแสงออกทางด้านอารมณ์ทางสังคม
ดนตรีบำบัดยังสามารถช่วยส่งเสริมพัฒนาการของ กล้ามเนื้อมัดเล็กได้ด้วย
ศิลปะบำบัด
ช่วยส่งเสริมการพัฒนาการด้าน อารมณ์ และทักษะด้านอื่นๆ
ช่วยพัฒนาด้านจิตใจ เสริมสร้างสมาธิ สร้างจินตนาการ และการ สื่อสารผ่านงานศิลปะ
การฟื้นฟูสมรรถภาพด้านอาชีพ
การฝึกอาชีพไม่เพียงมีประโยชน์ในการฝึกทักษะพื้นฐานเฉพาะทางอาชีพเท่านั้น
เตรียมความพร้อมในทักษะที่จำเป็นในการทำงานในอนาคตให้เด็ก