Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลบุคคลที่มีความผิดปกติทางด้านอารมณ์ - Coggle Diagram
การพยาบาลบุคคลที่มีความผิดปกติทางด้านอารมณ์
ปัจจัยเหตุของโรคอารมณ์แปรปรวน
ปัจจัยด้านพันธุกรรม (Genetic factors)
50% ของผู้ป่วยโรคอารมณ์แปรปรวนชนิด Bipolar-I จะมีอย่างน้อยบิดาหรือมารดาคนใดคนหนึ่งเป็นโรคอารมณ์แปรปรวนและมักเป็นโรคซึมเศร้าชนิดรุนแรง
บุตรมีโอกาสเป็นโรคอารมณ์แปรปรวน 50-75% ถ้าทั้งบิดาและมารดาป่วยเป็นโรคน
ฝาแฝดไข่ใบเดียวกันอัตราความสัมพันธ์กับการเกิดโรคอารมณ์แปรปรวนสูง 33-99% โรคซึมเศร้าชนิดรุนแรง 50%
ปัจจัยด้านการรู้คิด (Cognitive factors)
ความเศร้าเกิดจากการที่บุคคลมีความคิดเกี่ยวกับตนเองในทางลบคิดโทษตนเองท่าร้ายตนเอง
Beck: ความคาดหวังในทางลบ 3 ประการที่ก่อให้เกิดอารมณ์เศร้าคือความคาดหวังด้านสิ่งแวดล้อมความคาดหวังตนเองและความคาดหวังอนาคต
ความรู้สึกในทางลบจะท่าลายพัฒนาการทางความคิดของบุคคลทำลายความรู้สึกมีคุณค่าของตนเองรู้สึกต่าต้อยท้อแท้สิ้นหวังมองอนาคตว่าล้มเหลวหมดทางแก้และพยายามฆ่าตัวตาย
ปัจจัยด้านชีวภาพ (Biological factors
ความผิดปกติของระบบประสาท: การกระจายสารละลาย Na & K ในและนอกเซลประสาทไม่สมดุลผู้ป่วยจะมีอารมณ์เศร้ารุนแรงช่วงเช้าตรู่และดีขึ้นในช่วงปายหรือค่ำ
ความผิดปกติของการเผาผลาญสารชีวเคมีบางตั
ชีวเคมีเกี่ยวข้องกับระดับอารมณ์ของมนุษย์ภาวะเศร้ามี Norepinephrin ต่ำภาวะคลุ้มคลั่งจะมี NE สูง
3.ปัจจัยด้านจิตสังคม (Psychosocial factors)
3.1 ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ของ Freu
3.2 ทฤษฎีพัฒนาการและประสบการณ์การเรียนรู้
การจำเเนกโรคอารมณ์เเปรปรวน
โรคอารมณ์คลุ้มคลั่งสลับเศร้า (Bipolar Disorders)
2.1 Bipolar I
มีทั้งอารมณ์เศร้า (depress) หรืออารมณ์แบบผสม (mixed)) เคยมีอาการเศร้ามาก่อน-การวินิจฉัยมุ่งที่อาการแสดงปัจจุบันหรืออาการที่ผ่านมาในช่วงการเจ็บป่วยครั้งปัจจุบัน
2.2 Bipolar I
มีทั้งอารมณ์เศร้าสนุกครื้นเครงตามเกณฑ์การวินิจฉัยอาการคลุ้มคลั่งและอาการผสม ไม่เคยมีอาการเหล่านี้มาก่อน
2.3 Cyclothymic Disorde
มีอาการปรากฏเป็นช่วง ๆ อย่างน้อยเป็นเวลา 2 ปี-มีอาการคลุ้มคลั่งและเศร้าอาการอาจไม่ครบเกณฑ์การวินิจฉัยโรคซึมเศร้ารุนแรงในช่วงกว่า 2 ปีอาจไม่มีอาการตามเกณฑ์นานถึง 2 เดือน
ไม่มีอาการแสดงโรคซึมเศร้ารุนแรงโรคคลุ้มคลั่งและอาการผสมเกิดขึ้นในช่วง 2 ปีแรก-ไม่ใช่อาการที่รวมอยู่ในอาการของโรคจิตเภท-ไม่ใช่ผลจากอาการทางกายหรือผลจากการใช้ยาในการรักษาโรคทางกาย
โรคอารมณ์แปรปรวนอื่น ๆ (Other Mood Disorders
3.1 เป็นความผิดปกติที่มีผลต่อสภาพทางร่างกายโดยตรงสัมพันธ์กับความล้มเหลวในการทำหน้าที่การทางานและการเข้าสังค
3.2 เป็นผลจากการใช้ยาและสารเสพติดสารบางชนิดเช่นแอลกอฮอล์แอมเฟตตามีนโคเคนฝืนยานอนหลับยากดประสาทยาลดความวิตกกังวลเป็นต้น
1.โรคอารมณ์ซึมเศร้า(Depressive disorders)
1.1 โรคซึมเศร้ารุนแรง (Major Depressive Disorder)
1.2 โรคซึมเศร้าดิสไธมิก (Dysthymic Disorder)
1.3 โรคซึมเศร้าในช่วงก่อนมีประจำเดือน (Premenstrual Disphoric Disorder)
โรคอารมณ์เเปรปรวนMood Disorders (โรคจิตเวชทางอารมณ์)
เป็นความผิดปกติทางอารมณ์เป็นอาการเด่นโดยบุคคลอาจมีอารมณ์เศร้ามากผิดปกติอ่อนเพลียร้องไห้เศร้ามากอยากตายหรืออาจมีอารมณ์ดีมากผิดปกติครื้นเครงพูดมากอาจมีอาการเพียงลักษณะใดลักษณะหนึ่งหรือทั้งสองลักษณะร่วมกัน
บุคคลที่มีอารมณ์แปรปรวน
บุคคลที่มีความผิดปกติทางอารมณ์อย่างเด่นอาจแสดงอารมณ์เศร้ามากผิดปกติ (Depressive) ซึมเศร้ามากร้องไห้มากปฏิเสธสังคมอ่อนเพลียหดหูใจอยากตายอาจมีอารมณ์ครื้นเครงคลุ้มคลั่งเริงร่ามากกว่าปกติ (Mania) หัวเราะโดยไม่มีเหตุผลตลอดเวลาอาจมีอาการทั้งเศร้าและคลุ้มคลั่งมากในเวลาเดียวกัน
ระยะแรกพบในลักษณะอาการซึมเศร้า (Depression)
ลักษณะอารมณ์คลุ้มคลัง (Mania).
ครึกครื้น ครื้นเครง มากกว่าปกติอารมณ์ดีมากเกินปกติ หัวเราะร่าเริงโดยไม่มีเหตุผลคิดว่าตนเป็นใหญ่ แสดงพฤติกรรมมากกว่าปกติ ทั้งการพูดการคิดและการกระท่าพูดจาสับสน เปลี่ยนเรื่องบ่อย หงุดหงิด โกรธง่าย ตกใจง่ายไม่สามารถควบคุมตนเองได้
1.ระยะแรกพบในลักษณะอาการซึมเศร้า (Depression)
•เศร้าหดหู ใจสะเทือนใจ ร้องไห้โดยไม่มีเหตุผล เบื่อหน่ายสังคมสิ่งแวดล้อมรอบตัว ท้อแท้ เหนื่อยหน่าย ซึ มเฉย เก็บตัวอยู่คนเดียว หงุดหงิดเหม่อลอย หลงลืม มองโลกในแง่ร้า ยต่าหนิตนเองรู้สึกว่าตนเองมีทุกข์มากไม่มีใครช่วยได้และอยากตาย
•พบในเพศหญิงมากกว่าเพศชาย
การบำบัดรักษาบุคคลที่มีอารมณ์แปรปรวน
การรักษาด้วยจิตบำบัด
ใช้การพูดคุยกับผู้ป่วยวิเคราะห์สภาพปัญหาของผู้ป่วยนำไปสู่ความเข้าใจยอมรับปัญหามุ่งหาทางแก้ไขและส่งเสริมการปรับตัวในทางที่ถูกต้องและเหมาะสม
ใช้หลักการสัมพันธภาพทั้งรายบุคคลและรายกลุ่ม
การรักษาด้วยไฟฟ้ามักทำใน
รับการรักษาทางยาแล้วไม่ได้ผ
มีอาการหลงผิดประสาทหลอน
ผู้ป่วยที่มีอาการเศร้ารุนแรงพยายามทำร้ายตนเอง
การรักษาด้วยยา
2) ยารักษาโรคอารมณ์คลุ้มคลัง: Chlorpromazine, Haloperidol, Lithium
1) ยาต้านอาการเศร้า (Antidepressant): Amitriptyline 10, 25 มก. Imipramine 25 un. Nortriptyline 10, 25un.
การใฑ์สัมพันธภาพเพื่อการบำบัด
สื่อสารด้วยความเห็นใจและเข้าใจ
เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยระบายปัญหาและความทุกข์
ยอมรับผู้ป่วยโดยไม่มีเงื่อนไข
ให้ข้อเสนอแนะหรือทางเลือกแก่ผู้และครอบครัวพิจารณา
ป้องกันอันตรายสังเกตและดูแลผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด
เสริมสร้างความมั่นคงและเข้มแข็งในการเผชิญปัญหา
ฟื้นฟูสภาพผู้ป่วยเรื้อรังทั้งในด้านสุขอนามัยการช่วยเหลือตนเองในชีวิตประจำวันและการประกอบอาชีพ
ส่งเสริมสุขภาพจิตและป้องกันปัญหาของผู้ป่วยและครอบครัว