Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 การพยาบาลบุคคลที่มี ปัญหาทางจิตสังคม 3.1บุคคลที่มีความวิตกกังวล …
บทที่ 3 การพยาบาลบุคคลที่มี
ปัญหาทางจิตสังคม
3.1บุคคลที่มีความวิตกกังวล
และความเครียด
ความหมาย ลักษณะอาการและอาการแสดง การตอบสนองของความวิตกกังวล
ความรู้สึกไม่สบายต่อสถานการณ์ใดสถานการณ์หนึ่งที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต
ร่างกาย
หัวใจและหลอดเลือด หัวใจเต้นเร็ว ผิดจังหวะ เจ็บหน้าอก ใจสั่น ความดันโลหิตสูง หน้าแดง
ทางเดินหายใจ สะอีก หายใจเร็ว หายใจลำบาก
ทางเดินอาหาร กลืนลำบาก ปากแห้ง ท้องอืด ท้องเฟ้อ
ประสาท ปวดศีรษะ ตาพร่า หูอื้อ ปากแห้ง
ทางเดินปัสสาวะและระบบสืบพันธุ์ ปัสสาวะบ่อย ปัสสาวะไม่สุด ความรู้สึกทางเพศลดลง
กระดูกและกล้ามเนื้อ เกร็งของกล้ามเนื้อ ปวดเมื่อย อ่อนเพลีย
ลักษณะอาการและอาการแสดง
จิตใจและอารมณ์ กลัว ขาดความ
เชื่อมั่นในตนเอง กระวนกระวาย ตกใจง่าย หงุดหงิด
สังคม ขาดความสนใจ มีปัญหาเรื่องสัมพันธภาพกับผู้อื่น แยกตัว
สติปัญญา ความคิด ความจำลดลง การรับรู้และการตัดสินใจผิดพลาด
การตอบสนองของบุคคล
ชะงักงันหรือถดถอย (paralysis and retreating behavior) แยกตัว เก็บตัว หลับ ซึมเศร้า
เจ็บป่วยทางกาย ปวดศีรษะ หายใจ
ลำบาก ปวดท้อง
การต่อสู้ (acting out behavior) โต้เถียง ข่มขู่ต่อต้าน ก้าวร้าว ทำลายข้าวของ
เผชิญความวิตกกังวลในเชิงสร้างสรรค์
ความหมาย ลักษณะอาการและอาการแสดง การตอบสนองของความเครียด
ปฏิกิริยาตอบสนองที่มีต่อสิ่งกระตุ้น ประเมินแล้วว่าสิ่งกระตุ้นนั้นคุกคามหรือทำให้ตนเองรู้สึกไม่มั่นคง ปลอดภัย
อาการและอาการแสดง
จิตใจ การตัดสินใจไม่ดี มองโลกในแง่ร้าย
แยกตัว มีปัญหาด้านสัมพันธภาพ
พฤติกรรม ร้องไห้ ก้าวร้าว
ร่างกาย มึนงง ปวดศีรษะ หูอื้อ กล้ามเนื้อ อ่อนแรงไม่อยากทำอะไร คลื่นไส้อาเจียน
การตอบสนองของบุคคล
ด้านร่างกาย
ระยะการต่อต้าน ใช้กลไกการป้องกันตัว จำกัดสิ่งที่มากระตุ้นให้น้อยลง
ระยะหมดกำลัง ปรับตัวในระยะการต่อต้าน
ไม่สำเร็จ เหนื่อยและหมดแรง รับรู้ความป็นจริง บิดเบือน น้ำหนักตัวลดลง
ระยะเตือน ตื่นตัวและเกิดแรงที่จะป้องกันตนเอง
ระยะช็อก สู้หรือถอยหนี ใช้เวลา 1 นาที ถึง 24 ชั่วโมง
ระยะตอบสนองการช็อก ปรับตัวกลับสู่สภาพเดิม
ชนิด ระดับของความวิตกกังวลและความเครียด
ชนิดของความวิตกกังวล
เฉียบพลัน เกิดขึ้นในช่วงเวลาที่มี
เหตุการณ์เข้ามากระทบหรือคุกคาม
เรื้อรัง ไม่เป็นสุขขาดความ
มั่นคงปลอดภัย เกิดจากการอบรมเลี้ยงดูของครอบครัวตั้งแต่เด็ก
ปกติ แรงผลักดัน
ให้ชีวิตประสบความสำเร็จ
ระดับของความวิตกกังวล
ความวิตกกังวลต่ำ (mild anxiety) +1 ตื่นตัว และพยายามแก้ปัญหา มีสติสัปชัญญะเพิ่มขึ้น
ความวิตกกังวลปานกลาง (moderate anxiety) +2
ใช้ความพยายามในการแก้ปัญหาสูงขึ้น ควบคุมสมาธิมากขึ้น
ความวิตกกังวลรุนแรง (severe anxiety) +3 สติสัมปชัญญะลดลง หมกมุ่นครุ่นคิดในรายละเอียดปลีกย่อย
ความวิตกกังวลท่วมท้น (panic anxiety) +4 ขาดสติสัมปชัญญะ ตื่นตระหนก มึนงง สับสน วุ่นวาย เกรี้ยวกราด
ชนิดของความเครียด
ฉับพลัน เกิดขึ้นทันที กลับสู่ภาวะปกติ เสียง อากาศเย็นหรือร้อน ชุมชนที่คนมากๆ ความกลัว ตกใจ อันตราย
เรื้อรัง เกิดขึ้นทุกวันและร่างกายไม่สามารถตอบสนอง หลั่งฮอร์โมนที่เรียกว่า cortisolและ adrenaline ความตันโลหิตสูงและหัวใจเต้นเร็ว ร่างกายแข็งแรงมีพลังงาน
ระดับของความเครียด
ระดับต่ำ ระยะเวลาสั้น ไม่คุกคาม เบื่อหน่าย ขาดแรงกระตุ้น เป็นแรงจูงใจในที่นำไปสู่ความสำเร็จ
ระดับปานกลาง วิตกกังวลหรือกลัวแต่ไม่แสดงออก ทำกิจกรรมที่ชื่นชอบ
ระดับสูง เหตุการณ์รุนแรง ปวดศีรษะ ปวดท้อง อารมณ์
ฉุนเฉียวง่ายหงุดหงิด การฝึกหายใจ คลายเครียด พูดคุยระบายความเครียด
ระดับรุนแรง เรื้อรังต่อเนื่องงหรือกำลังเผชิญ
สาเหตุของบุคคลที่มีความวิตกกังวล
ชีวภาพ
ชีวเคมี caffeine lactate hyperthyroidism thyrotoxicosis ยาบางชนิด L-dopa, corticosteroid
เจ็บป่วย
ระบบประสาท บกพร่องแต่กำเนิด
จิตสังคม
จิตวิเคราะห์ ไม่สามารถควบคุมหรือ
จัดการกับความขัดแย้ง บุคคลใช้กลไกการป้องกันตนเอง
พฤติกรรมและการรู้คิด
สังคม
สัมพันธภาพระหว่างบุคคลไม่ดี ในระยะ 2 ปีแรกของชีวิตมองตนเองในแง่ไม่ดี และจะไม่มั่นใจในความสามารถ
สาเหตุของบุคคลที่มีความเครียด
นอก สภาพภูมิอากาศ ภัยพิบัติ การย้าย
ถิ่นฐานที่อยู่ การเปลี่ยนงาน ความเจ็บป่วย
ใน ภาวะสุขภาพของตนเอง การเจริญเติบโต หรือพัฒนาการล่าช้า
การพยาบาลบุคคลที่มีความวิตกกังวลและความเครียด
การพยาบาลบุคคลที่มีความวิตกกังวล
ประเมินสภาวะความวิตกกังวล
ความเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย จิตใจ และสังคม
ระดับความรุนแรง
สาเหตุ/วิธีการผชิญ
การวินิจฉัย
เป้าหมายระยะสั้น ลดความวิตกกังวล
เป้าหมายระยะยาว รู้และเข้าใจถึงเหตุและผล/ปรับบุคลิกภาพและการใช้กลไกทางจิต
ตัวอย่างการเขียนข้อวินิจฉัย
-มีความวิตกังวลระดับรุนแรงเนื่องจากคิดว่าตนเองไม่สามารถควบคุม หรือแก้ไขปัญหาได้
-การเผชิญปัญหาไม่เหมาะสมเป็นผลมาจากมีความวิตกกังวลระดับรุนแรง
-มีความผิดปกติด้านเนื่องจากวิตกกังวลในระดับรุนแรง
-มีความวิตกังวลระดับปานกลางเนื่องจากรู้สึกว่าชีวิตถูกคุกคามและถูกบีบคั้นทางจิต
กิจกรรมการพยาบาล
สร้างสัมพันธภาพ
คำพูดง่ายๆ ข้อความสั้นๆ กะทัดรัด
ให้กำลังใจ
จัดสิ่งแวดล้อมให้สงบ
ป้องกันอันตราย
ประเมินผล
แยกแยะและประเมินระดับความวิตกกังวล
บอกถึงความรู้สึกวิตกกังวล
ผ่อนคลาย
วิธีการที่เหมาะสมในการแก้ไข
การพยาบาลบุคคลที่มีความเครียด
ประเมิน
อาการแสดงทางร่างกาย
อาการแสดงทางจิตใจ
การวินิจฉัย
เป้าหมายระยะสั้น บำบัดรักษาอาการทางกาย
เป้าหมายระยะยาว รู้และเข้าใจกลวิธีในการปรับตัว/จัดการความเครียดที่เหมาะสม/ลดความถี่
ตัวอย่างการเขียนข้อวินิฉัย
ความดันโลหิตสูงกว่าปกติเนื่องจากมีการปรับตัวต่อภาวะเครียด/ มีภาวะเครียดในระดับสูงเนื่องจากการสูญเสียบุคคลอันเป็นที่รัก/ แบบแผนการนอนหลับพักผ่อนเปลี่ยนแปลงเนื่องจากมีภาวะเครียด
กิจกรรมการพยาบาล
สร้างสัมพันธภาพ
เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยได้เรียนรู้และเลือกกลวิธีในการ
จัดการความเครียดที่สร้างสรรค
ประเมินระดับความเครียตด้วยตนเอง
ฝึกทักษะการคิดเชิงบวก
กระตุ้นให้ผู้ป่วยทำตารางเวลาของชีวิต
ได้รับยาตามแผนการรักษา
ประเมินผล
ประเมินระดับความเครียดด้วยตนเองได้
บอกวิธีการจัดการความเครียด
ผ่อนคลาย
แสวงหาแหล่งสนับสนุน
อาการทางกายทุเลา