Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การจัดการระบบการคลังงบประมาณ - Coggle Diagram
การจัดการระบบการคลังงบประมาณ
การจัดทำงบประมาณของ รพ.
ความหมาย
-งบประมาณเป็นแผนงานประเภทหนึ่งที่แสดงรายละเอียดเกี่ยวกับทรัพยากรที่จะหามาและทรัพยากรที่จะใช้ไปในช่วงเวลาดเวลาหนึ่งที่กำหนดไว้อย่างชัดเจน
-งบประมาณเป็นแผนงานสำหรับอนาคต ที่มีการเขียนและเรียบเรียงไว้อย่างมีรูปแบบที่ซัดเจน (formal) และในลักษณะที่สามารถวัดได้ (measurable)
วัตถุประสงค์
เป็นเครื่องมือในการสื่อสารและการสร้างความตระหนัก
กำหนดความต้องการทรัพยากร
วัดผลการดำเนินงาน
ควบคุมกำกับการทำงาน
ประเภทของงบประมาณ
งบประมาณเพื่อการลงทุน (capital budgets)
งบประมาณดำเนินการ (operating budgets)
งบประมาณเงินสด (cash budget)
สถานการณ์การจัดทำงบประมาณของโรงพยาบาล
โรงพยาบาลของรัฐ
การจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์
ตัววัดผลเชิงปฏิบัติการที่ไม่ใช่ตัวเงิน
ตัววัดผลที่เป็นตัวเงิน
ระบบงบประมาณแบบวางแผน-แผนงาน
ซึ่งเป็นระบบงบประมาณที่มีโครงสร้างตามการวางแผนงานกลุ่มต่างๆ และระดับต่างๆ ทั้งนี้เพื่อกำกับการใช้เงินและทรัพยากรต่างๆ ให้เป็นระบบ เป็นไปตามแผนงาน การจัดทำงบประมาณจะต้องมีข้อมูลประกอบแสดงไว้
โรงพยาบาลเอกชน
งบประมาณเพื่อการลงทุน
มีไว้เพื่อให้ผู้บริหารใช้ประกอบการตัดสินใจลงทุนในแต่ละปี ซึ่งโรงพยาบาลอาจมีการกำหนดไว้ล่วงหน้า หรือฝ่ายต่างๆ เสนอเป็นโครงการขึ้นมาให้พิจารณา
งบประมาณดำเนินการ
อาจประกอบด้วยงบประมาณการผลิตงบประมาณด้านบริหารจัดการ งบประมาณรายได้ งบประมาณรายจ่าย งบประมาณกำลังคน งบประมาณดอกเบี้ยรับ-จ่าย รวมถึงการจ่ายคืนหนี้
หลักการบริหารงบประมาณ
งานจัดทำงบประมาณประจำปี
งานจัดการงบประมาณเพิ่มเติม
งานจัดทำแผนใช้งบประมาณ
งานเบิก-จ่ายงบประมาณ
งานติดตามการใช้งบประมาณ
งานควบคุมการใช้งบประมาณ
งานแก้ปัญหาเกี่ยวกับงบประมาณ
งานของบประมาณฉุกเฉิน
9.งานประเมินผลการดำเนินงานงบประมาณของโรงพยาบาล
การจัดทำงบประมาณเพื่อการลงทุน & งบประมาณดำเนินการ
เป็นส่วนหนึ่งของแผนประจำปี
เป็นส่วนหนึ่งของแผนหลายปี
เป็นการตอบสนองต่อโอกาสทางธุรกิจ
การดำเนินการ
การพิจารณา โครงการลงทุน
กระบวนการพิจารณางบประมาณ
การเลือกสรรสิ่งที่ต้องการ
แหล่งเงินทุน
การปริมาณบริการ
ปริมาณงานอิสระ (independent volume) เช่น จำนวนครั้งของผู้ป่วยที่มาใช้บริการของแผนกผู้ป่วยนอก
ปริมาณงานพึ่งพิง (dependent volume) เช่น จำนวนครั้งของการทดสอบเลือดทางเคมีของห้องปฏิบัติการผู้ป่วยนอก
การประมาณรายรับ
รายรับจากบริการ = ปริมาณการใช้บริการ x อัตราค่าบริการ
รายรับจากบริการ = ปริมาณการใช้บริการ x ค่าบริการเฉลี่ย x ร้อยละที่เก็บเงินได้
การประมาณการบุคลากร
การวางแผนงบประมาณเกี่ยวกับบุคลากรใน รพ. เช่น เงินเดือน ค่าจ้าง มีความซับซ้อนมากกว่างบประมาณประเภทอื่น เพราะ มีทั้งบุคลากรทำงานเต็มเวลา (full time) ทำงานห้วงเวลา (part time) การคำนวณปริมาณบุคลากรนิยมใช้หน่วยเป็นจำนวนบุคลากรเทียบเท่าทำงานเต็มเวลา (full time equivalent: FTE) โดยคำนวณจำนวนชั่วโมงของการห้วงเวลา หรือนอกเวลา (over time) กลับมาเทียบเท่าเป็นการทำงานเต็มเวลา
การประมาณการค่าวัสดุและค่าใช้สอย
รายจ่ายคงที่ (fixed expenses) ซึ่งไม่เกี่ยวข้องกับปริมาณการให้บริการ
รายจ่ายผันแปร (variable expenses) แปรไปตามปริมาณการให้บริการ
การวิเคราะห์งบประมาณในการบริหาร
การวิเคราะห์ความอ่อนไหว
การวิเคราะห์การอ่อนไหวแบบทางเดียว
การวิเคราะห์การอ่อนไหวแบบสองทาง
การวิเคราะห์การอ่อนไหวแบบสามทาง
การวิเคราะห์ความแปรปรวน
แนวทางการวิเคระห์
การคำนวณความแปรปรวนจากปริมาณ
การคำนวณความแปรปรวนจากราคาซื้อ
การคำนวณความแปรปรวนของการใช้วัสดุได้
การนำผลการวิเคระห์ความแปรปรวนมาใช้ประโยชน์ และข้อควรระวัง
การวิเคราะห์จุดคุ้มทุน
จุดคุ้มทุน (Breakeven point) เป็นปริมาณการขายหรือการให้บริการที่ยอดรายได้ขององค์การเท่ากับต้นทุนรายจ่ายขององค์การ
ต้นทุนคงที่ (fixed cost) เป็นต้นทุนรายจ่ายที่เกิดขึ้นเสมอ เช่น เงินเดือน
บุคลากร ค่าเสื่อมราคาครุภัณฑ์ต้นทุนผันแปร (variable cost) เกิดขึ้นแปร่ไปตามจำนวนของบริการที่ให้เช่น ต้นทุนค่ายา เวชภัณฑ์ต่างๆ