Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 2 การพยาบาลบุคคลที่มี ภาวะวิกฤต - Coggle Diagram
บทที่ 2 การพยาบาลบุคคลที่มี
ภาวะวิกฤต
ความหมาย
ภาวะชั่วคราว เมื่อบุคคลเผชิญกับเหตุการณ์ทีรับรู้ว่ามีความคุกคาม เกิดความตึงเครียดความสามารถทางสติปัญญาลดลง
พัฒนาการวิกฤตหรือวัยวิกฤต ตามช่วงวัย
ภาวะวิกฤตที่เกิดจากภัยพิบัติ ไม่คาดคิด อาจ
เกิดจากธรรมชาติหรือมนุษย์สร้างขึ้นมาเอง
สถานการณ์วิกฤต (situational crisis) ทันทีทันใดไม่สามารถคาดการณ์ล่วงหน้าได้ เช่น การเสียคนรักจากอุบัติเหตุ การตั้งครรภ์โดยไม่ตั้งใจ การสอบตก การถูกให้ออกจากงาน
อาการและอาการแสดง
ระยะที่ 2 ระยะฉุกเฉิน ยังคงใช้ความพยายามที่จะจัดการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น ขาดที่พึ่งและหนดหนทาง รู้สึกลังเล
ระยะที่ 3 เป็นระยะที่อยู่ในภาวะที่อ่อนไหว
ระยะที่ 1 เป็นระยะที่อยู่ในระยะวิกฤต
มีความเครียด ความวิตกกังวลมาก สับสน เจ็บหน้าอก ปากแห้ง หัวใจเต้นเร็ว เหงื่ออก รู้สึกผิดและละอาย รู้สึกโกรธ
ระยะที่4 เป็นระยะที่ไม่สามารถรับความตึงเครียด วิตกกังวล นับเป็นจุดแตกหัก
สาเหตุ
การรับรู้ต่อเหตุการณ์วิกฤต สูญเสีย ปวดร้าว สิ้นหวัง
การแก้ไขปัญหา
มุ่งเน้นการแก้ปัญหา พยายามแก้ไขที่ตัวปัญหา
มุ่งเน้นอารมณ์ จัดการอารมณ์และความรู้สึก ใช้กระบวนการทางความคิด
เหตุการณ์วิกฤต ปัญหาสาเหตุที่ก่อให้เกิดภาวะ
วิกฤตสำหรับบุคคล
การพยาบาล
ประเมิน
กลวิธีหรือกลไกทางจิต
บุคลิกภาพเดิม
ระดับความรุนแรงของอาการทางกาย
แหล่งสนับสนุนช่วยเหลือ
ระดับความรุนแรงของเหตุการณ์
สิ่งยึดเหนี่ยว
การวินิจฉัย
การเผชิญปัญหาไร้ประสิทธิภาพ
เสี่ยงต่อการกระทำรุนแรงต่อตนเองและผู้อื่น
แบบแผนการพักผ่อนนอนหลับเปลี่ยนแปลง
บกพร่องในการมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคม
แผนการพยาบาล
วัตถุประสงค์ระยะสั้น ลดความเครียดหรือความวิตกกังวล/ลดอาการและอาการแสดงทางกาย/
วัตถุประสงค์ระยะยาว
เผชิญปัญหาที่สร้างสรรค/แหล่งสนับสนุนช่วยเหลือ
การปฏิบัติการพยาบาล
ข้าใจและยอมรับสถานการณ์
เปลี่ยนสภาพแวดล้อม
ระบายเรื่องราวความทุกข์ใจ
กิจวัตรประจำวัน
สร้างสัมพันธภาพ
ส่งเสริมความรู้สึกมีคุณค่าในตัวเอง
ประเมินผล
การเผชิญปัญหาที่มีประสิทธิภาพมาก
บอกถึงขั้นตอนหรือวิธีการในการไปขอความช่วยเหลือ
มีความเครียดหรือความวิตกกังวลลดลง
แสวงหาแหล่งสนับสนุนช่วยเหลือทางสังคม