Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีความพิการเเต่กำเนิด ที่ต้องได้รับการช่วยเหลือตั้งเเต่เด…
การพยาบาลเด็กที่มีความพิการเเต่กำเนิด
ที่ต้องได้รับการช่วยเหลือตั้งเเต่เด็ก
ความพิการตั้งเเต่กำเนิดจำเเนกตามกลไกการเกิด
1.Malformation
อวัยวะที่ผิดรูปร่างไปเกิดจากกระบวนการเจริญพัฒนา
ภายในที่ผิดปกติ ปากเเหว่ง เพดานโหว่ เป็นต้น
3.Disruption
ทารกขาดเลือดไปเลี้ยงอวัยวะส่วนปลาย
การบาดเจ็บของอวัยวะหรือเนื้อเยื่อ หรือมีการฉีกของ amnion
2.Deformation
มีภาวะถุงน้ำคร่ำรั่วระหว่างตั้งครรภ์ ข้อติด เป็นต้น
4.Dyplasia
เป็นกลุ่มโรค skeletal dysplasia เกิดจากความ
ผิดปกติของกระดูกเกิดจากพันธุกรรม
ปากเเหว่งเพดานโหว่ (cleft lip and cleft palate)
ความผิดปกติบริเวณเพดานหน้าเเละหลังเเยกออกจากกัน
สาหตุ: พันธุกรรม ขาดหรือได้รับvit a มากไป ติดเชื้อไวรัส ยาเเละสารต้านการเจริญเติบโต
การรักษาปากเเหว่ง:โดยการผ่าตัด รอเด็กอายุ8-12 week ใช้กฎเกิน10 ผ่าตัดเมื่อเด็กอายุ10week ขึ้นไป นน.10 ปอนด์ Heme 10 g% ขึ้นไป
การรักษาเพดานโหว่:ปรึกษาทันตเเพทย์ ผ่าตัดเพดานเพื่อให้พูดชัดเจน Golden period คือ 1 ปี
TE fistula การมีรูติดต่อระหว่างหลอดลมเเละหลอดอาหาร
อาการ:มีน้ำลายมาก ไอ เมื่อดูดเอาออกทิ้ง สำลักง่าย ท้องอืด หายใจลำบาก เขียว
การวินิจฉัย:ใส่ NG tube ลงไปได้ไม่ตลอด, x-ray พบลมในกระเพาะอาหาร
lmperforate anus ความพิการเเต่กำเนิดไม่มีรูทวารหนักเปิดให้อุจจาระออกจากร่างกายได้ เกิดใน1 ใน400 ของเด็กเกิดมีชีวิตทั้งหมด เด็กชายมากกว่าเด็กหญิง
ชนิดของความผิดปกติ: 1.รูทวารตีบเเคบ
2.มีเยื่อบางๆปิดกั้นรูทวารหนัก
3.รูทวารหนักเปิดผิดที่ 4.ลำไส้ตรงตีบตัน
อาการ: ไม่พบรูเปิดทางทวารหนัก ไม่มีอาการถ่ายขี้เทา เหนียวๆสีเขียวดำ กระสับกระส่าย เเน่นท้อง ตรวจพบมีกากอาหารค้างในกระเพาะ
Omphalocele/gastroschisis
พบได้1:4000 ของการคลอด เเละพบมากในมารดาที่อายุมากเกิดจากความบกพร่องของหน้าท้อง อัตราการตายสูง ร้อยละ80
การักษา:โดยการผ่าตัดปิดผนังหน้าท้องตั้งเเต่ระยะเเรก เป็นการปิดหน้าท้องดันลำไส้กลับเข้าไปในช่องท้องเเล้วเย็บปิดผนังหน้าท้อง โดยเย็บปิด fascia เเล้วเย็บปิดผิวหนังอีกชั้นหนึ่ง
Abdominal compartment syndrome
ท้องอืดอย่างรุนเเรง ปัสสาวะออกน้อย มีความดันในข่องท้องเพิ่มสูงขึ้น>20 mmHg ซึ่งทำให้อวัยวะล้มเหลวตามมา Acs ส่งผลกระทบกับผู้ป่วยหลายระบบ
การดูเเล:ให้ยาระงับปวดให้เหมาะสม จัดท่าผู้ป่วยให้นอนราบศีรษะสูงไม่เกิน 30 องศา ฟอกไตเพื่อดึงน้ำออกจากร่างกาย การใส่สายระบายในช่องท้อง ถ้าอาการยังไม่ดีขึ้นหรือความดันในช่องท้องสูงขึ้น การผ้ฝ่าตัดลดความดันในช่องท้อง
Hypospadias/Epispadia
รูเปิดท่อปัสสาวะอยู่ต่ำกว่าปกติ
อัตราการเกิด1ใน300ในทารกเพศชาย
Epispadia:รูเปิดท่อปัสสาวะอยู่ด้านบน
ผลกระทบ:อาจทำให้ปัสสาวะไม่พุ่ง องคชาตเเข็ง เเต่ไม่สามารถร่วมเพศได้ องคชาตดูเเตกต่างจากปกติ
การผ่าคัดเเก้ไข:1.การผ่าตัดขั้นตอนเดียวเป็นการผ่าตัดให้องคชาตยืดตรง ทำรูเปิดท่อปัสสาวะให้อยู่ปลายองคชาต 2.การผ่าตัด2ขั้นตอน 1)ผ่าตัดเเก้ไขให้องคชาตโค้งงอ 2)urethroplasty หลังผ่าตัด orthoplasty เเล้ว6 เดือน เพื่อให้เนื้อเยื่ออ่อนนุ่มจึงกลับมาทำผ่าตัดในขั้นตอนของการตกเเต่งท่อปัสสาวะ
Anoplasty
การพยาบาล:ให้คำเเนะนำระยะหลังผ่าตัด7-10วัน ไม่ให้นอนกางขา นั่ง เพราะอาจเกิดเเผลเเยกได้ในเด็กเล็กให้ผูกขาติดกัน การให้อาหารที่เหมาะสม ให้กำลังใจบิดา มารดา เเละฝึกการขับถ่าย ฝึกกล้ามเนื้อที่ช่วยควบคุมการถ่ายอุจจาระ บวกกับการมาตรวจตามนัด
ปัญหาที่พบได้หลังผ่าตัด:ทวารหนักตีบจากกลไกการหดรัดตัวของเเผลท้องผูก การกลั้นอุจจาระไม่ได้
Gastrostomy
การพยาบาล:อาจเกิดภาวะปอดอักเสบ หายใจลำบาก
: อาจได้รับสารน้ำเเละอาหารไม่เพียงพอเนื่องจากไม่สามารถรับประทานอาหารทางปากได้
:อาจเกิดภาวะเเทรกซ้อนหลังผ่าตัดต่อหลอดอาหาร
:อาจเกิดภาวะปอดเเฟบจากการอุดตันของท่อระบายทรวงอก
:อาจเกิดการติดเชื้อบริเวณเเผลผ่าตัดเเละเเผลgastrostomy
นางสาวมิลรณี เเซ่ตั๊น 62111301074 เลขที่71