Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที 5.9 การพยาบาลบุคคลทีมีความผิดปกติทางอารม ณ์ โรคซึมเศร้า กลุ่ม…
บทที 5.9 การพยาบาลบุคคลทีมีความผิดปกติทางอารม ณ์ โรคซึมเศร้า กลุ่ม Premenstrual Dyspeptic Disorder (PMDD)
ลักษณะอาการทางคลินิก
- อาการสําคัญคือ อารมณ์เปลียนแปลงง่ายหงุดหงิดไม่มีความสุขหรือวิตกกังวลร่วมกับอาการทาง ร่างกายและพฤติกรรมในช่วงก่อนมีประจําเดือนอาการ มักจะรุนแรงสุดช่วงใกล้จะมีประจําเดือน และค่อยๆดี ขึนหลังจากหมดประจําเดือนโดยผู้ปวยจะมีอาการเจ็บทุกครังทีมีประจำเดือน ซึงส่งผลกระทบต่อการใช้ ชีวิตประจําวัน
-
ระบาดวิทยา
- ความชุกของ MPDD พบประมาณร้อยละ 1.8 - 5.8 ในหญิงทีมีประจําเดือน
สาเหตุ
- Psychosocial hypothesis PMDD
- เกิดจากความขัดแย้งทีอยู่ในจิตไร้สำนึกเกียวกับความเป็น หญิง และความเป็นแม่
- ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ เชื่อว่าการเปลียนแปลงทางร่างกายก่อนมีประจําเดือนเ ป็นการยาเตือนว่าผู้หญิงยังไม่ได้ตังครรภ์ และไม่สามารถเติมเต็มบทบาทของความเปนหญิงทีแท้ จริงได้
-
- พบว่าระดับของ serotonin ในผู้หญิงทีเป็น PMDD ลดตาลง เชื่อว่ามี การลดลงของ serotoninergic activity สารส่งผ่าน ประสาทอืนๆทีอาจมีส่วนเกียวข้อง ได้แก่ opioid adrenergic system และ GABA
- Sociocultural theory PMDD
- เป็นการแสดงออกของความขัดแย้งระหว่างบทบาททางสัง คม ของผู้หญิง 2 บทบาทคือ การเป็นคนทางาน (productive workers) และการทำหน้าทีของแม่ (childrearing mother) PMDD เป็นการแสดงออกของความไม่พอใจของผู้หญิงต่อบทบาท ดังเดิมของผู้หญิงในสังคม
- Ovarian hormone hypothesis
- เกิดจากความเสียสมดุลของสัดส่วนระหว่าง estrogen และ progesterone ร่วมกับกรณีมี progesterone ตาลง
การวินิจฉัยแยกโรค
- ดูอาการปวดประจําเดือนซึงจะมีอาการช่วงเริมมีประจําเดือน
- Bipolar disorder, major depressive disorder และ presistent depressive disorde
- เนื่องจากโรคเหล่านีทําให้อารมณ์เปลียนแปลงและอาการเปนๆ หายๆ แต่อาการของผู้ปวย PMDD จะสัมพันธ์ กับการมีประจําเดือนในรายทีไม่แน่ใจควรให้ผู้ปวยบันทึก และสังเกตอาการของตนเองว่าสัมพันธ์กับการมี ประจําเดือนหรือไม่
- ผู้ป่วยอาจมีอารมณ์เปลี่ยนแปลง เช่น ซึมเศร้า หงุดหงิดง่าย วิตกกังวลหรือไม่อยากเข้าสังคม ร่วมกับอาการทางกาย เช่น ปวดศีรษะ คัดตึงเต้านม เป็นต้น
- ผู้ป่วยทีได้รับการรักษาด้วยฮอร์โมน
- เช่น กําลังกินยาคุมกําเนิดฮอร์โมนอาการต่างๆจะค่อยๆดีขึน
การดํานินโรค
- พบได้ในช่วงอายุใดก็ได้หลังจากมีประจําเดือนครังแรก
- ผู้ป่วยอาจมาด้วยความรุนแรงของอาการทีแตกต่างกัน
- ส่งผลกระทบต่อการทํางาน การเข้าสังคม และความสัมพันธ์กับบุคคลรอบข้าง
- หลังจากได้รับการรักษาอาการของผู้ปวยมักจะดีขึน
- และหลังจากหยุดรักษาอาการอาจจะกลับเปนซาได้อย่างรวดเร็ว
การรักษา
- Light therapy ซึงช่วยปรับการทํางานของ serotonin
-
- การใช้ relaxation techniques ซึงมักใช้ร่วมกับวิธีรักษาอื่นๆ
- Cognitive behavioral therapy (CBT)เพือช่วยปรับความคิดด้านลบของผู้ป่วยในช่วงมีอ าการ
-
ยาทีนิยมใช้
- ได้แก่ selective serotonin reuptake inhibitor เช่น glycerine หรือ sertraline หรืออาจเลือกใช้ยาในกลุ่ม TCAs เช่น clomipramine
-