สำนักพาณิชยนิยม
(The Mercantilist School)
ยุคศักดินา (Feudalism or Monarchy)
ศตวรรษที่5-10
เริ่มขึ้นหลังการล่มสลายของอาณาจักรโรมัน
สภาพสังคมในยุโรปไร้ระเบียบ แตกแยก ทหารอ่อนแอ
ประชาชนต้องเข้าไปอยู่ภายใต้การคุ้มครองของนักรบกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง เพื่อความปลอดภัย
พัฒนาต่อมาเป็นระบบปกครองด้วยกษัตริย์
กษัตริย์อีกนัยยะเป็นเจ้าของที่ดิน
ที่ดินเป็นสิ่งสะท้อนความมั่งคั่ง สถานะทางสังคม อำนาจทางการเมือง
ระบบการปกครองแบบศักดินา
มีลักษณะเป็นลำดับขั้น
ใช้ระบบ"อุปถัมภ์"
ศาสนจักร
King
อยู่สูงสุด
เจ้าของที่ดิน
Lord+Noble
ส่งบรรณาการให้กษัตริย์
ได้ที่ดินในชนบทเป็นการตอบแทนจากกษัตริย์
Knight
ทำสงคราม
ได้รับการจัดสรรที่ดินให้
Peasants/Serfs
Peasants ชาวนา
จ่ายค่าเช่าให้ในรูปแบบของผลผลิตหรือเงินค่าเช่า
Serfs ทาส
ใช้แรงงาน
แรงงานเกณฑ์
ส่วนใหญ่จะเป็น"ไพร่"
มีการกดขี่แรงงาน
เข้ามาควบคุมและแยกโลกออกเป็น2โลก
โลกมนุษย์
โลกจิตวิญญาณ
โลกของความผิดบาป
สูงส่ง
ต้องถูกปกครองด้วยศาสนจักร
ความรู้เกิดได้แค่เฉพาะผู้ที่อยู่ในศาสนจักรหรือนักบวชเท่านั้น
เข้ามาควบคุมความคิด
การผลิตยุคนี้เป็นการผลิตแบบพอยังชีพ
(Self-Sufficient)
ยุคแนวคิดพาณิชย์นิคม (Mercantilism ) ศตวรรษที่16
ยุคสมบูรณาญาสิทธิราช
(Absolute Monarchy)
ศตวรรษที่10-16
ระบบศักดินาล่มสลาย
คนเริ่มตั้งคำถามกับอำนาจและคำสอนขอศาสนจักร
กษัตริย์ต้องการรวมศูนย์กลางเพื่อสร้างความเข้มเเข็ง
เกิดอำนาจบริหารแบบรวมศูนย์กลางแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์
เกิดแนวคิดรัฐชาติ
รวมเอาคนในแดนใกล้เคียง พูดภาษาเดียวกัน
มาเป็นรัฐชาติเดียวกัน
ช่วงศตวรรษที่ 11
ยุคสว่างทางปัญญา
มองว่ามนุษย์เกิดมาพร้อมกับเสรีภาพ
ความเสมอภาค
เป็นปัจเจก
มีเหตุมีผล
คิดเชิงวิทยาศาสตร์
เชื่อในหลักมนุษยนิยม
ยุด Enlightenment
เริ่มมีการค้าขายแลกเปลี่ยนโดยใช้เงินตรา
แข็งข้อกับขุนนาง
กษัตริย์ต้องสร้างกองทัพแห่งชาติ
หารายได้ในการเลี้ยงกองทัพจากการร่วมมือกับพ่อค้า
กษัตริย์ตอบแทนพ่อค้าด้วยสิทธิ์ในการบริหารประเทศ
ให้เกียรติยศในเชิงสถานะทางสังคม
เกิดชนชั้นกระฏุมพี หรือ ชนชั้นพ่อค้า
1.เมืองกลับมามีความสำคัญ
เปลี่ยนแปลงทางสังคมครั้งใหญ่
Society Revolution
แนวคิดว่าด้วยมนุษยนิยม
ฟื้นฟูศิลปวิทยา
การเข้ามาของวิทยาศาสตร์
ค้นพบทวีปใหม่
ค้นพบกล้องส่องทางไกล
ช่วยในการเดินเรือ
เมืองติดชายทะเลมีความสำคัญ
2.การค้นพบทวีปใหม่และการค้าเป็นแบบลักษณะ Global
ค้นพบเส้นทางเดินเรือที่สำคัญ
1.เส้นทางเดินเรือไปตะวันออก
2.เส้นทางข้ามแอตแลนติก
เส้นทางสายไหม
เกิดลักษณะการค้าที่สำคัญ
1.การค้าแบบภายใต้อาณานิคม
สเปนเข้าไปยึดเม็กซิโกกับเปรูที่มีเหมืองและทองคำ
ทองคำขนกลับสเปนส่งเข้ารัฐ
2.การค้าแบบสามเหลี่ยม
อเมริกาปลูกอ้อย
แอฟริกาส่งแรงงานไปเป็นคนงานในไร่อ้อย
เมื่อแปรรูปอ้อยเป็นน้ำตาลเสร็จ ก็ส่งให้ยุโรป
การค้าทั้ง2แบบทำให้เกิดชนชั้นกระฏุมพี
เป็นชนชั้นพ่อค้า
3.เริ่มมีเค้ารางของทุนนิยมเกิดขึ้น
Wooing Industry
อุตสาหกรรมสิ่งทอจากขนสัตว์
เจ้าของที่ดินไม่ให้เช่าที่ดิน แล้วนำมาเลี้ยงแกะเเทน
sheep were eating men
ฝูงแกะกำลังกินคน
ราคาขนแกะแพงขึ้น
จ้างคนเลี้ยงแกะ
ล้อมรั้วที่ดิน
รวมที่ดินเป็นพื้นที่ใหญ่เพื่อเลี้ยงแกะ
ชาวนาที่เคยเช่าโดนไล่ออกไป
กลุ่มคนที่รวยมาจากการค้าขายเริ่มซื้อที่ดินเพื่อทำฟาร์มเลี้ยงเเกะ
พวกขุนนางเปลี่ยนจากเคยให้เช่าที่ดินมาเป็นฟาร์มเลี้ยงแกะ
จ้างคนเพื่อเข้ามาดูแลฟาร์ม
เกินชนชั้นแรงงานเสรี
เกิดการล่มสลายของชนบท
มีการเคลื่อนย้ายของคนชนบทจำนวนมากไปสู่เมือง
ไปเป็นกรรมกร
ขายแรงงานในอุตสาหกรรม
เกิดwage worker
แรงงานที่ถูกปลดปล่อยมาจากที่ดิน เป็นแรงงานเสรี
ขายความสามารถในการทำงานเพื่อแลกกับค่าจ้าง
เกิดชนชั้นแรงงานในภาคอุตสาหกรรม
นักคิดที่สำคัญ
1.Thomus Mun
ทำการค้าขายเครื่องเทศ
ล่องเรือจากประเทศในแถบเอเชีย
และนำเครื่องเทศส่งกลับไปยังยุโรป
ผลงานที่สำคัญ
England's Treasure by Foreign Trade
2.William Petty
แนวคิดเกี่ยวกับทฤษฎีมูลค่าแรงงานของสำนักคลาสสิก
กรรมสิทธิ์เป็นเรื่องสำคัญ
เป็นสิทธิธรรมชาติ
3.Bernard Mandeville
ส่งเสริมให้รัฐใช้นโยบายเกินดุลการค้า
ส่งเสริมให้มีประชากรจำนวนมากเพื่อสร้างแรงงาน
เน้นการส่งออก
ลดการนำเข้า
4.David Hume
ทำให้แนวคิดพาณิชย์นิยมเสื่อมความนิยมลง
เสนอแนวคิดเกี่ยวกับปริมาณเงินกับการค้าต่างประเทศและราคาของสินค้าภายในประเทศ
แนวคิดของกลุ่ม Mercantilism
1.ส่งเสริมนโยบายเกินดุลการค้า
ความมั่งคั่ง
เน้นการสะสมเงินและทองคำ
รัฐบาลต้องมีนโยบายจำกัดการนำเข้า
สนับสนุนการส่งออก
เก็บภาษี
ควบคุมการเดินเรือ
2.ห้ามส่งออกสินค้าเกษตร
การผลิตเพื่อการส่งออกมีต้นทุนต่ำ
ทำให้ค่าจ้างแรงงานถูก
ทำให้สินค้าเกษตรในประเทศถูกลง
ค่าครองชีพในประเทศถูกลงด้วย
ส่งผลให้ต้นทุนแรงงานถูกลงได้
ค่าจ้างแค่พอยังชีพ
3.ส่งเสริมการแปรรูปสินค้า
ทำให้เกิดมูลค่าเพิ่ม
ไม่ส่งออกสินค้าเกษตรโดยตรง
4.ควบคุมการขนส่งทางเรือ
ไม่ให้เงินและทองคำไหลออก
ถูกควบคุมโดยรัฐ
ใช้เรือของประเทศตนเองหรือเรือของอาณานิคมเท่านั้น
เก็บภาษีจากสินค้าที่บรรทุกโดยเรือต่างชาติสูงกว่า
ความเชื่อมโยง
ที่มาของทฤษฎีปริมาณเงิน (Quantitative Theory of Money)
เมื่อเงินและทองคำไหลเข้าสเปนจำนวนมาก
อำนาจซื้อมากขึ้น
ปริมาณเงินมากขึ้น
เกิดภาวะเงินเฟ้อ
คนในประเทศเริ่มไปซื้อสินค้านำเข้าแทน
ประเทศคู่ค้าก็เกิดเงินเฟ้อตามไปด้วย
William Petty เสนอ
ถ้ามีการเพิ่มขึ้นของปริมาณเงินจะ
ส่งผลกระทบต่ออัตราดอกเบี้ย
อัตราดอกเบี้ยลดลง
สามารถกู้เงินไปลงทุน
เกิดการขยายตัวการค้า
รัฐเก็บภาษีได้มากขึ้น
เงินคงคลังมากขึ้น
กษัตริย์ร่ำรวย
เกิดการเพิ่มขึ้นของการจ้างงาน
ยุคปลาย Mercantilism
ลูกี แบร์
ความมั่งคั่งไม่ได้มาจากเงินหรือทองคำ
นิยามความมั่งคั่ง
การผลิตสินค้าเพื่อตอบสนองความต้องการของมนุษย์
มาจาก2ส่วน
1.การผลิตในภาคเกษตรกรรม
2.การผลิตในภาคอุตสาหกรรมการบริการ
ให้ความสำคัญกับพื้นฐานการผลิตในภาคเกษตรกรรม
ถ้าไม่ส่งเสริมภาคการเกษตรจะเกิด
ภาวะ"การบริโภคที่ไม่เพียงพอ"
รายได้เกษตรกรต่ำ
ไม่สามารถซื้อสินค้าในภาคอุตสาหกรรมได้
ภาคอุตสาหกรรมการเกษตรรายได้ต่ำ
ไม่สามารถซื้อสินค้าเกษตรได้
Multiplier Effect
ข้อแตกต่างระหว่าง Mercantilist กับ แบร์
Mercantilism
เกินดุลการค้า
พึ่งพาการส่งออก
เน้นการพัฒนาอุตสาหกรรม
แบร์
เน้นการพัฒนาภาคการเกษตรเพื่อทำให้เกิด
Internal Demand
รัฐไม่ต้องเก็บภาษี
ทำให้รัฐหรือกษัตริย์ขาดรายได้
ปกป้องผลประโยชน์ของกษัตริย์หรือรัฐ
ถือว่าเป็นนักเศรษฐศาสตร์แนวคิดเสรีนิยม