Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่1มโนทัศน์ของความผิดปกติทางสุขภาพจิตและจิตเวช - Coggle Diagram
บทที่1มโนทัศน์ของความผิดปกติทางสุขภาพจิตและจิตเวช
1.แนวคิดการเกิดโรคทางจิตเวชและปัจจัยที่มีความเกี่ยวข้องกับการเกิดโรคทางจิตเวช
1.Stress diathesis model จุดอ่อนทางพันธุกรรมรวมกับการมีสถานการณ์ความตึงเครียดทางสิ่งแวดล้อม
2.Case formulation
ปัจจัยกระตุ้น สิ่งแวดล้อมภายนอก เช่น การใช้สารเสพติด การนอนหลับ สัมพันธภาพ
ปัจจัยทำให้อาการคงอยู่ ความเชื่อ ทัศนคติ พฤติกรรม
ปัจจัยเสี่ยง สถานการณ์ สิ่งแวดล้อม ตัวบุคคล
ปัจจัยปกป้อง ปรับตัวต่อสถานการณ์สิ่งแวดล้อม เช่น มีงานทำ ครอบครัวมีสัมพันธภาพที่ดี แหล่งสนับสนุน
ปัจจัย
จิตใจ
จิตวิเคราะห์ การทำงานของโครงสร้างบุคลิกภาพไม่สมดุลกัน
มนุษยนิยม ความไม่รู้ ไม่เข้าใจปัญหาที่แท้จริง
พฤติกรรมนิยม ประสบการณ์ของมนุษย์ที่ผ่านการเรียนรู้ การตอบสนองต่อสิ่งเร้า
ปัญญานิยม ค.คิด ค.เชื่อที่ผิดปกติหรือไม่สมเหตุสมผล
สังคม
กายภาพ
ที่อยู่อาศัย ลักษณะของชุมชน ค.หนาแน่น
ค.สัมพันธ์ในครอบครัว
การเลี้ยงดู
ปล่อยปละะเลย ขาดโอกาส ขาดที่พึ่ง ขาดระเบียบวินัย เอาแต่ใจตนเอง
ทนุถนอมมากเกินไป เอาแต่ใจตนเอง ไม่ต่อสู้ชีวิต ต้องคอยพึ่งผู้อื่น
เผด็จการ ขาดความใกล้ชิด ไม่กล้าโต้แย้ง
ประชาธิปไตย ปรับตัวดี ใช้เหตุผล แสดงความคิกเห็น
การศึกษา
เศรษฐกิจและสังคม
วัฒนธรรม
การเมือง
ชีวภาพ
สารสื่อประสาทผิดปกติ
Dopamine มาก คลุ้มคลั่ง น้อย ซึมเศร้า
Serotonin อารมณ์แปรปรวน ย้ำคิดย้ำทำ จิตเภท
Norepinephrine มาก โรควิตกกังวล โรคอารมณ์แปรปรวนอารการคลุ้มคลั่ง น้อย โรคซึมเศร้า
GABA ลดลง โรคชัก โรควิตกกังวล
acetylcholine ลดลง อัลไซเมอร์
การทำงานของสมอง การไหลเวียนเลือด Frontal lobes ลดลง
พันธุกรรม
ความผิดปกติแต่กำเนิด
การติดเชื้อหรือภาวะแทรกซ้อนของมารดาขณะตั้งครรภ์
ฮอร์โมน
ฮอร์โมนจากต่อมหมวกไตน้อย ในผป.โรคแอตดิสัน ซึมเศร้า เฉยเมย ฮอร์มนจากต่อมทัยรอยด์ต่ำ เกิดอาการซึมเศร้า ค.วิตกกังวล
สารพิษในร่างกาย
สุรา แอมเฟตามีน กัญชา เฮโรอีน สารระเหย ยานอนหลับ ยาลดค.อ้วน เห็ดบางชนิด ใบกระท่อม
ค.เจ็บป่วย
สมองอักเสบ เยื่อหุ้มสมองอักเสบ ซิฟิลิสขึ้นสมอง สมองขาดเลือด เลือดคั่งในสมอง
จิตวิญญาณ
ปรัชญาชีวิต
ที่พึ่งทางใจ
2.อาการและเกณฑ์การจำแนกโรค
การพูด
Poverty of speech
Poverty of content of speech
nonspontaneous speech
Pressure of speech
Dysprosody
Stuttering
Dysarthria
Volubility/Logorrhea
Cluttering
อาการและอาการแสดง
การเคลื่อนไหว
ค.รู้สึกตัว
ชนิดที่ 2 ค.ใส่ใจ
Hypervigilance
Trance
distractibility
ชนิดที่ 3 การถูกชักจูง
Hypnosis
Folie a deux
ชนิดที่ 1 ระดับค.รู้สึกตัว
Drowsiness
Somnolence
Disorientation
Stupor
Clouding of consciousness
Sundowning
Coma
อารมณ์
ความคิด
ชนิดที่ 2 กระบวนการคิด
ชนิดที่ 3 เนื้อหาความคิด
ชนิดที่ 1 โดยรวมของความคิด
รับรู้สัมผัส
ชนิดที่ 2 ประสาทลวง
ชนิดที่ 3 ปรากฎการณ์
hysterical anesthesia สูญเสียการรับความรู้สึก
fugue เดินเร่ร่อนขณะที่ความรู้สึกตัวขาดตอน
depersonalization รู้สึกว่าตนเองเปลี่ยนไป
derealization าสิ่งแวดล้อมในขณะนั้นดูแปลกไป
ชนิดที่ 1 ประสาทหลอน
olfactory hallucination กลิ่น
tactileหรือ haptic hallucination ผิวหนัง
Gustatory hallucination รสชาติ
visual hallucination ภาพ
Auditory hallucination เสียง
ชนิดที่ 4 การรับรู้ที่เกิดความผิดปกติของพุทธิปัญญา
prosopagnosia
somatopagnosia
astereognosis
visual agnosia
anosognosia
ความจำ
recent memory 2-3 วันก่อน
recent past memory 2-3 เดือนก่อน
immediate memory หลายวินาทีหรือหลายนาที
remote memory อดีตที่ผ่านนานแล้ว
ความผิดปกติของความจำ (disturbance of memory)
amnesia สูญเสียความจำ
paramnesia ความจำเป็นเท็จ
เกณฑ์การจำแนกโรค
ICD 10 สาเหตุของโรคและการดำเนินโรค
DSM V อาการและอาการแสดง
3.สิทธิของผู้ป่วย กฎหมาย จริยธรรม
มาตรา 12
มาตรา 13
มาตรา 3
มาตรา 15
มาตรา 16
มาตรา 17
มาตรา 18
มาตรา 19
มาตรา 20
มาตรา 21
มาตรา 22
มาตรา 23
มาตรา 24
มาตรา 27
แจ้ง
ตรวจ
เจอ
ส่ง
กรณีผู้ป่วยคดี
มาตรา 35
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 30
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 31
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 29
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 32