Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 การพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุที่มีการเจ็บป่วยทางจิตเวช - Coggle…
บทที่ 5 การพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุที่มีการเจ็บป่วยทางจิตเวช
บุคคลที่มีภาวะเพ้อ
ลักษณะอาการ
การรับรู้ผิดปกติ
ตื่นกลางคืน นอนกลางวัน
พุดสับสนไม่ต่อเนื่อง
sundowning syndrome
กระแสความคิดไม่ติดต่อกัน
ไม่มีสติ ไม่มีสมาธิอย่างมาก
ประสาทหลอน
สาเหตุ
สารสื่อประสาท
dopamine เพิ่มขึ้น
acethylcoline ลดลง
การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา
การผ่าตัด
ได้รับสารพิษ
การติดเชื้อ
ความหมาย
เกิดจากหลายสาเตุปละถือเป็นภาวะฉุกเฉิน ที่มีลัษณะความผิดปกติของสติสัมปชัญญะ การรู้สึกตัวเกิดการเปลี่ยนแปลงของการรู้คิดและการรับรู้
การพยาบาล
ลดสิ่งกระตุ้นผู้ป่วยโดยจัดสิ่งแวดล้อมให้เงียบสงบ ไม่มีคนพลุกพล่าน
สื่อสารกับผู้ป่วยด้วยคำพูดสั้นๆ ชัดเจน เข้าใจง่าย
ป้องกันอุบัติเหตุและการบาดเจ็บโดยจำกัดบริเวณผู้ป่วยอยู่ในที่ที่ปลอดภัย
บอกวัน เวลา สถานที่ให้ทราบบ่อยๆ
โรควิตกกังวล
การพยาบาล
พูดคุยกับผู้ป่วยด้วยน้ำเสียงและท่าทีที่สงบ ใช้คำพูดที่เข้าใจง่ายๆสั้นๆชัดเจน
ให้ผู้สำรวจความรู้สึก ค้นหาสาเหตุ ตระหนักรู้
จัดสิ่งแวดล้อมให้สงบ ลดสิ่งกระตุ้นให้ผู้ป่วยเกิดความวิตกกังวล
ประเมินความคิดที่จะทำอันตรายต่อตนเอง
สอนและให้คำปรึกษาเกี่ยวกับหลักการบำบัดด้านความคิด
ความหมาย
ความรู้สึกไม่สบายใจ หวาดหวั่น ไม่มั่นใจต่อสภาพการณ์ในอนาคตเกรงว่าจะเกิดอันตรายหรือความเสียหาย เนื่องจากมีสิ่งคุกคามความมั่นคงของบุคคล
สาเหตุ
ปัจจัยทางจิตวิทยา
ทฤษฎีสัมพันธภาพระหว่างบุคคล
ทฤษฎีกาเรียนรู้
ทฤษฎีจิตวิเคราะห์
ปัจจัยทางสังคมและสิ่งแวดล้อม
ปัจจัยทางชีววิทยา
กรรมพันธุ์
สารสื่อประสาท
สารชีวเคมี
ภาวะการเจ็บป่วยทางกาย
กายวิภาคของระบบประสาท
ลักษณะอาการ
พฤติกรรม ได้แก่ เดินไปเดินมา ลุกลี้ลุกลน นั่งไม่ติดที่
ความคิด ความจำ ได้แก่ สนใจสิ่งแวดล้อมลดลง ไม่มีสมาธิ หลงลืม
จิตใจและอารมณ์ ได้แก่ กระสับกระส่าย หงุดหงิด ซึมเศร้า ร้องไห้ โกรธ
ร่างกาย ได้แก่ กล้ามเนื้อตึงเครียด เหนื่อย ปากแห้ง หน้าแดง เสียงสั่น
โรคอารมณ์สองขั้ว
แบ่งได้ 2 ชนิด
Bipolar 1
เคยมีอาการเศร้ามาก่อน
การวินิจฉัยมุ่งที่อาการแสดงปัจจุบัน
มีทั้งอารมณ์เศร้าหรืออารมณ์แบบผสม
Bipolar 2
มีทั้งอารมณ์เศร้า สนุก ครื้นเครง
ไม่เคยมีอาการเหล่านี้มาก่อน
ความหมาย
เป็นความผิดปกติทางอารมณ์อย่างหนึ่ง ซึ่งผู้ป่วยที่เป็นโรคนี้จะมีลักษณะอารมณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปมา ระหว่างอารมณ์ซึมเศร้าสลับกับช่วงที่อารมณ์มากกว่าปกติ
ลักษณะอาการ
อาการเศร้า : อารมณ์เศร้านั้นมักทำให้เกิดความเสียหายหรือลำบากต่อการดำเนินชีวิตปกติ
อาการคึก:อาการคึกรุนแรงและค่อยๆคึกลดลง
การพยาบาล
ใช้กระบวนการให้คปรึกษาแก่ผู้ป่วยและครอบครัว
พัฒนาทักษะในการดูแลตนเองด้านสุขภาพจิตและจิตเวช
ใช้เทคนิคการสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัด
ใช้เทคนิคการสอน การปรับตัว และเทคนิคการดำเนินชีวิตที่เหมาะสม
การดูแลความปลอดภัย
โรคจิตเภท
ลักษณะอาการ
กลุ่มอาการด้านบวก
ประสาทหลอน
หวาดระแวง
หลงผิด
พูดไม่รู้เรื่อง
กลุ่มอาการด้านลบ
สีหน้าเมยเฉย
ไม่แสดงอาการใดๆ
ไม่พูด
แยกตัว
สาเหตุ
ปัจจัยทางด้านจิตสังคม
ความขัดแย้งภายในจิตใจ
กระบวนการพัฒนาการ
ความเครียด
สภาพสังคมและวัฒนธรรม
ปัจจัยด้านชีวภาพ
พันธุกรรม
สารชีวเคมีในสมอง
กายภาพของสมองที่ผิดปกติ
ความหมาย
ความผิดปกติจะเกิดขึ้นหลายอย่างค่อยเป็นค่อยไป ได้แก่ ความผิดปกติของความคิด การรับรู้ พฤติกรรม อารมณ์ และการสื่อสาร โดยอาจเริ่มต้นที่สัมพันธภาพบกพร่อง ไม่ค่อยสนใจสิ่งแวดล้อมส่งผลต่อการดำเนินชีวิต ครอบครัวสังคมเป็นอันมาก
การพยาบาล
สร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัด เข้าใจและยอมรับความคิดและพฤติกรรมของผู้ป่วย
รับฟังเรื่องที่ผู้ป่วยเล่าโดยไม่กล่าคำขัดแย้ง ไม่ตัดสิน คล้อยตาม
ผู้ป่วยที่หลงผิดมากมีอาการคลุ้มคลั่ง ก้าวร้าว ไม่สามารถควบคุมตนเองได้พยาบาลต้องคำนึงถึงความปลอดภัยและอันตรายที่อาจจะเกิดขึ้นกับผู้ป่วยและบุคคลอื่น
ภาวะสมองเสื่อม
ลักษณะอาการ
กิจกรรมทั่วไปบกพร่อง
อารมณ์แปรปรวน
สูญเสียความสามารถทางสติปัญญา
อาการทางสมองด้านอื่นๆ
ไม่ยอมรับความสามารถที่ลดลง
ด้านสามมิติ
ด้านทิศทาง
สาเหตุ
สมองเสื่อมแบบ alzheimer
สมองเสื่อมเกิดจากพยาธิสภาพของหลอดเลือด
สมองเสื่อมจากสาเหตุอื่นๆ
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ
ความผิดปกติของเส้นประสาทสมอง
โรคเรื้องรัง เบาหวาน ไทรอยด์ โลหิตจาง ติดเชื้อ
ภาวะทุโภชนาการ
โรคทางจิตเวช โรคซึมเศร้า ความผิดปกติจากการนอนหลับ
ควาหมาย
เป็นกลุ่มอาการที่มีการเสื่อมถอยของการทำงานของสมองด้านความคิดการรับรู้อย่างน้อยหนึ่งด้านโดยมี ความสามารถลดลงจากเดิมที่เคยดีมาก่อน โดยที่ผลการเปลี่ยนแปลงนี้มีผลกระทบต่อการดาเนินชีวิตของผู้ป่วย จนไม่สามารถทำหน้าที่การงานเข้าสังคมเรียนรู้ตัดสินใจแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันได้
การพยาบาล
สอนญาติที่จะเป็นผู้ดูแลผู้ป่วย โดยให้ญาติมีความเข้าใจอาการของโรคยอมรับความผิดปกติที่เกิดขึ้นกับผู้ป่วย
ดูแลผู้ป่วยได้ระบายความรู้สึก ให้กำลังในการแก้ไข
ผู้ป่วยที่หลงลืมไม่ควรพูดล้อเลียน ตำหนิให้ผู้ป่วยเสียหน้า ควรแนะนำหรือเตือนอย่างสุภาพ
ดูแลความสะอาด สุขอนามัยส่วนตัว แปรงฟัน แต่งตัว การขับถ่าย
ให้ผู้ป่วยได้รับน้ำและอาหารอย่างเพียงพอ
โรคซึมเศร้า
ลักษณะอาการ
ด้านอารมณ์และจิตใจ
สิ้นหวัง รู้สึกตนเองไร้ค่า
คิดช้า สมาธิเสีย
มีความคิดอยากฆ่าตัวตายหรือประสาทหลอนร่วมด้วย
หดหู่ ไม่มีชีวิตชีวา
ด้านสังคม
แยกตัวไม่สนใจสิ่งแวดล้อม
ด้านร่างกาย
นอนไม่หลับ
เบื่ออาหาร
น้ำหนักลด
เคลื่อนไหวช้า
สาเหตุ
ปัจจัยด้านพันธุกรรม
ปัจจัยด้านจิตสังคม
การถูกทอดทิ้ง
อารมณ์เศร้าเกิดจากการสูญเสียสิ่งใดสิ่งหนึ่ง
ความขัดแย้งในการปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
ปัจจัยด้านชีวภาพ
ความผิดปกติของระบบประสาท
ความผิดปกติของการเผาผลาญสารชีวเคมีบางตัว
ชีวเคมี
ปัจจัยด้านการรู้คิด
ความหมาย
เป็นพฤติกรรมที่เกิดจากภาวะจิตใจที่หม่นหมองเศร้าสร้อย หดหู่ มองโลกในแง่ร้าย แสดงออกได้ทั้งทางอารมณ์ พฟติกรรม ความคิดและร่างกาย เป็นระยะเวลานานเกิน 2 wk+
การพยาบาล
การสอนผู้ป่วย
การให้คำปรึกษา
การใช้เทคนิคการสื่อสาร และสร้างสัมพันธภาพ
การพัฒนาพฤติกรรมที่เหมาะสม
การป้องกันอันตราย
การแนะนำแหล่งบริการที่สะดวกสำหรับผู้ป่วยและครอบครัว
โรคย้ำคิดย้ำทำ
ความหมาย
เป็นการคิดหรือทำเรื่องใดเรื่องหนึ่งซ้ำๆ โดยไม่สามารถหยุดยั้งได้ ทั้งๆที่รู้ว่าสิ่งที่คิดหรือทำนั้นไม่สมเหตุสมผล
การพยาบาล
ควรจัดตารสงกิจกรรมและให้เวลาในการทำกิจกรรมซ้ำๆไม่บังคับ
ให้แรงเสริมทางด้านบวกเมื่อผู้ป่วยทำได้สำเร็จ
สร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัดให้ผู้ป่วยเกิดความรู้สึกไว้วางใจ
สอนเทคนิควิธีการผ่อนคลายความเครียด
อาการ
ย้ำทำ
พฤติกรรมที่ทำซ้ำๆ เช่น การล้างมือ การออกคำสั่ง การตรวจตราสิ่งของ หรือการแสดงออกด้านจิตใจ
การย้ำคิด หรือการย้ำทำ เป็นการกระทำที่ใช้เวลามาก
ย้ำคิด
มีความหมกมุ่น โดยเกิดขึ้นซ้ำๆ มากระตุ้นหรือมโนภาพจากประสบการณ์ในบางเวลา
ผู้ป่วยจะพยายามเพิกเฉย