Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Case G2P1-0-0-1
GA 23+3 wk. by date
Elderly Pregnancy & Previous C/S…
Case G2P1-0-0-1
GA 23+3 wk. by date
Elderly Pregnancy & Previous C/S & Overweight & GDMA2
(นศพต.ชยาภรณ์ ทรายแซม เลขที่ 16)
1. ข้อมูลพื้นฐาน📜
ประวัติทั่วไป
- หญิงตั้งครรภ์อายุ 34 ปี 7 เดือน
- เชื้อชาติ ไทย สัญชาติ ไทย ศาสนา พุทธ
- สถานภาพ : สมรส
- อาชีพ : พนักงาน X-ray ทันตกรรม
- รายได้ : 20,000 บาท/เดือน
- ที่พักอาศัย: อพาตเม้นท์ อยู่ชั้น 2 ใช้บรรไดในการขึ้น-ลง ภายในตึกไม่มีลิฟต์ อาศัยอยู่ด้วยกัน 3 คน ได้แก่ มารดา น้องสาว และเพื่อน
- น้ำหนักก่อนการตั้งครรภ์ = 74 kg.
- ส่วนสูง = 159 cm.
- BMI = 29.27 kg/m2⬆️
- วันที่รับไว้ในความดูแล 9 มี.ค. 2564
-
-
-
-
-
ประวัติการเจ็บป่วย
ผู้ป่วย
- ปฏิเสธโรคประจำตัว
- ประวัติการผ่าตัด : Previous C/S ปี 2554
ที่รพ.ตำรวจ
- ปฏิเสธการแพ้ยา/แพ้อาหาร
- ได้รับวัคซีนบาดทะยักครบ 3 เข็มเมือปี 2554 และได้รับเข็มกระตุ้นเมื่อ 9 ก.พ. 2564
-
ครอบครัว
- พี่สาวสามีเป็นแฝด 2 คน
- พ่อหญิงตั้งครรภ์เป็นเบาหวาน
-
-
4. พยาธิสภาพ✍🏻
Elderly Pregnancy
การตั้งครรภ์ในสตรีที่มีอายุมากกว่า 35 ปีขึ้นไป นับจากวันเกิดของหญิงตั้งครรภ์จนถึงวันกำเนิดคลอด ซึ่งเป็นการตั้งครรภ์ที่มีความเสี่ยงสูงและอันตรายต่อตนเองและทารก
-
ผลกระทบต่อสุขภาพ
หญิงตั้งครรภ์
- อัตราการตายสูงขึ้น
- เสี่ยงต่อการเกิดภาวะซ้อน ได้แก่ ความดันโลหิตสูง, เบาหวาน, แท้งบุตร, รกเกาะต่ำ ลอกก่อนกำหนด, ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด น้ำคร่ำน้อย, ระยะคลอดยาวนาน, ทารกผิดปกติ, ตกเลือดหลังคลอด
- หญิงสูงวัยมักมีโรคเรื้อรัง ทำให้ควบคุมยากขึ้น
- ปัญหาในระยะคลอด ได้แก่ preterm มีโอกาสผ่าคลอดสูงกว่าหญิงตั้งครรภ์อายุน้อย
ทารก
- เกิดความผิดปกติทางโครโมโซม โดยเฉพาะกลุ่ม Down syndrome
- ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์(IUGR) น้ำหนักแรกเกิดน้อยกว่า 2,500 g.
- คลอดก่อนกำหนด หรือเกินกำหนด
- ทารกตัวโต คลอดไหล่ยาก
- อัตราการพิการ และตายปริกำเนิดสูงขึ้น
-
Overweight
-
ผลกระทบ
หญิงตั้งครรภ์
- เบาหวานขณะตั้งครรภ์
- ความดันโลหิตสูง
- ลิ่มเลือดอุดตัน
- คลอดล่าช้า คลอดยาก
- การผ่าตัดทางหน้าท้อง
ทารก
- ภาวะแท้งบุตร
- เสียชีวิตในครรภ์
- เกิดความพิการ
- ทารกตัวโต
GDM
(Diabetes mellitus)
โรคเบาหวานในสตรีตั้งครรภ์ จะมีความผิดปกติของการเผาผลาญคาร์โบไฮเดรต จากความไม่สมดุลของความต้องการและการสร้าง จากภาวะดื้ออินซูลินหรือการใช้อินซูลินในร่างกาย ทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ อาจเป็นโรคเรื้อรังก่อนตั้งครรภ์หรือเป็นขณะตั้งครรภ์ เนื่องจากมีฤทธิ์ต้านอินซูลินโดยรกและฮอร์นโมนจากรก ทำให้เกิดการเผาผลาญภายในร่างกายผิดปกติ
-
-
การวินิจฉัย
1.ซักประวัติเพื่อค้นหาความเสี่ยงต่อการเป็นโรคเบาหวาน
- คนในครอบครัวเป็นโรคเบาหวาน🟡
- อายุหญิงตั้งครรภ์มากกว่า 30 ปีขึ้นไป🟡
- ค่า BMI สูงกว่าปกติ คือ > 24.9 kg/m2🟡
- มีประวัติเคยพบเบาหวานขณะตั้งครรภ์ในครรภ์ก่อน
- ประวัติมีความดันสูงก่อนหรือขณะตั้งครรภ์
- เคยคลอดบุตรน้ำหนักมากกว่า 4,000 g, แท้งบ่อยครั้ง, ทารกเสียชีวิตโดยไม่ทราบสาเหตุ
2.ตรวจพบน้ำตาลกลูโคสในปัสสาวะ เมื่อมาฝาก 2 ครั้งหรือมากกว่า
GCT(เพื่อหาความเสี่ยงเป็นเบาหวาน)
โดยต้องมีค่า < 140 mg/dL✅
หากมีค่า >= 140 mg/dL ❌
นัดมาทำ OGTT อีก 1wk.
OGTT(เพื่อยืนยันว่าเป็นเบาหวาน)
glucose 100 gm.
โดยต้องมีค่า < 95, 180, 155, 140 mg/dL✅
หากมีค่า > 95, 180, 155, 140 mg/dL ❌
ตั้งแต่ 2 ค่าขึ้นไป
นัดทำ FBS& 2 hr. PP อีก 1 เดือน
104⬆️, 192⬆️, 126, 74 mg/dL
ขั้นตอนการตรวจ
- ให้งดน้ำงดอาหาร ก่อนมาเจาะเลือดอย่างน้อย 8 ชั่วโมง
- เจาะเลือด 1 เข็ม เพื่อหาระดับน้ำตาลขณะอดอาหาร FBS
3.ให้รับประทานกลูโคส 100 gm. ผสมในน้ำอย่างน้อย 300-400 ml. ภายในเวลา 5 นาที
- เจาะเลือดอีก 3 เข็ม เพื่อหาระดับน้ำตาลเมื่อครบ 1, 2, 3 ชั่วโมงหลังรับประทานกลูโคส
FBS& 2 hr. PP(เพื่อจำแนกชนิดของเบาหวาน)
โดยถ้ามีค่า < 95, 120 mg/dL ⏩ GDMA1
แต่ถ้าหากมีค่า > 95, 120 mg/dL ⏩ GDMA2
1 ธ.ค. 2563 : 92⬇️, 91⬇️ mg/dL
✅GDMA1
29 ธ.ค. 2563 : 108⬆️, 123⬆️ mg/dL
✅GDMA2
ขั้นตอนการตรวจ
- งดน้ำงดอาหารก่อนมาเจาะเลือด 8 ชั่วโมง เจาะเลือด 1 เข็ม เพื่อหาระดับน้ำตาลขณะอดอาหาร FBS
3.ให้รับประทานอาหารตามปกติ
- เจาะเลือดอีก 1 เข็ม เพื่อหาระดับน้ำตาลเมื่อครบ 2 ชั่วโมงหลังรับประทานอาหาร
-
-
-
-
5. การให้คำแนะนำ💁🏻♀️
-
การรับประทานอาหาร
แนะนำให้รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ ใช้เทคนิครับประทานครั้งละน้อยๆ แต่บ่อยครั้งๆ โดยแบ่งเป็นอาหารมื้อหลัก 3 มื้อ ทานเป็นข้าวและกับข้าว เน้นโปรตีน เนื้อสัตว์และผักเป็นส่วนใหญ่ ส่วนมื้อว่างให้เลือกทานนมและผลไม้ต่างๆ
โปรตีน : ทานเนื้อสัตว์ที่ไม่ติดมัน ไขมันต่ำ เช่น เนื้อปลา เนื้อไก่ ไข่ หลีกเลี่ยงเนื้อสัตว์แปรรูป ใช้วิธีปรุงโดยการต้ม ตุ๋น นึ่ง ลวก อบ ย่าง
ผัก : ผักใบชนิดต่างๆ เช่น ผักกาด คะน้า ตำลึง ทานได้มากตามต้องการ มีใยอาหารและวิตามินมาก หลีกเลี่ยงผักหัวและถั่วต่างๆ
ผลไม้ : ควรทานผลไม้แทนขนม เลือกทานผลไม้ที่มีน้ำตาลน้อย รสไม่หวานจัด เช่น ฝรั่ง ชมพู่ ส้มเขียวหวาน ส้มโอ มะละกอ แอปเปิ้ล สาลี่ แก้วมังกร ผลไม้ที่ควรงด มีรสหวานและน้ำตาลมาก เช่น เงาะ ทุเรียน ลำไย ขนุน น้อยหน่า ละมุด
น้ำนม : เป็นสารอาหารจำเป็น ควรดื่มนมจืด และพร่องมันเนย หรือขาดมันเนย ไม่ควรดื่มนมหวาน นมเปรี้ยว โยเกิร์ต
-
-
-
-