Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที 5.9 การพยาบาลบุคคลทีมีความผิดปกติทางอารมณ์ โรคซึมเศร้า - Coggle…
บทที 5.9 การพยาบาลบุคคลทีมีความผิดปกติทางอารมณ์ โรคซึมเศร้า
ปัญหาและแนวทางการพยาบาลโรคซึมเศร้า
ปัญหาที 2 ได้รับสารนาและอาหารไม่เพียงพอเนืองจากภาวะซึมเศร้า
เกณฑ์การประเมินผล
ผู้ป่วยมีน้ำหนักเพิมขึน 0.5 กิโลกรัมต่อ 1 สัปดาห์
ผู้ป่วยรับประทานอาหารได้เองโดยไม่ต้องกระตุ้น
ผู้ป่วยมีความรู้ความเข้าใจเกียวกับเรืองสารอาหารและคุณค่าของอาหาร
กิจกรรมการพยาบาล
รวบรวมข้อมูลพื้นฐานเกียวกับภาวะโภชนาการของผู้ปวย เช่น โรคประจําตัว นิสัยการรับประทานอาหาร ปัญหาแผลในช่องปาก และฟัน เป็นต้น
กระตุ้นให้ผู้ป่วยยังรับประทานอาหารโดยดูแลความสะอาดปากและฟัน - 3. จัดสิงแวดล้อมให้เอื้ออํานวยต่อการรับประทานอาหารจัดอาหารให้ดูน่ารับประทานชักชวนและกระตุ้นให้รับประทานอาหาร
ดูแลให้รับประทานอาหารตามเวลาครบสามมือ
แนะนําให้มารดานําอาหารทีผู้ปวยชอบมารับประทาน
ติดตามชังนาหนักสัปดาห์ละหนึ่งครั้ง
ให้ข้อมูลเกียวกับผลเสียของของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย เพื่อให้ผู้ปวยตระหนักถึงความสําคัญของสารอาหารทีร่างกายควรได้รับ
สังเกตและบันทึกพฤติกรรมจํานวนอาหารและนาทีผู้ป่วยได้รับในแต่ละวัน
วัตถุประสงค์
ได้รับสารน้ำและอาหารเพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย
การประเมินผล
หลังจากให้การพยาบาลหนึ่งสัปดาห์แรกผู้ปวยรับประทานได้ 2/3 ถาด
มารดามาเยียมวันเว้นวัน ซื้ออาหารและขนมทีผู้ปวยชอบมาให้
ผู้ปวยรับประทานได้หมดผู้ปวยรับประทานอาหารได้ครบ 3มือ โดยไม่ต้อง
กระตุ้นชังนาหนักหนึงสัปดาห์จากเดิม 43 กิโลกรัมขึนเปน 43.5 กิโลกรัม
ข้อมูลสนับสนุน
S: - ผู้ป่วยบอกว่า "เบืออาหารกินได้มือละ 4-5 คํา "
S: -มารดาบอกว่า "กินยาก อยู่บ้านไม่กินเลย”
O: ผู้ปว่ยรูปร่างผอมบาง BMI =17.48(น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์มาตรฐานเอเชีย)
ปัญหาที 1 มีแนวโน้มทําร้ายตนเองซาเนืองจากมีภาวะซึมเศร้า
เกณฑ์การประเมินผล
ผู้ป่วยปลอดภัยไม่มีพฤติกรรมทําร้ายตนเองซาภายใน 1 สัปดาห์
ผู้ป่วยไม่แสดงอาการซึมเศร้าเบื่อหน่ายสีหน้าแจ่มใสสบตามีความสัมพันธ์ดีขึ้น
กิจกรรมการพยาบาล
1.สร้างสัมพันธภาพเพื่อการบําบัดด้วยท่าทีเป็นมิตรอบอุ่นมันคง
ประเมินความเสียงของพฤติกรรมทําร้ายตัวเองประเมินจากสีหน้าท่าทางการแสดงออกทางคําพูด อารมณ์การเคลื่อนไหวเพื่อวางแผนการพยาบาลให้ได้รับความปลอดภัย
จัดสิงแวดล้อมให้เหมาะสมและปลอดภัยปราศจากสิงกระตุ้นและรบกวนจัดเก็บอุปกรณ์ทีอาจเป็น เครืองมือในการทําร้ายตนเองเช่นอุปกรณ์ทีมีลักษณะเป็นสายของทีแตกหักหรือสามารถใช้เป็นอาวุธของแหลม ของ มีคมนายาเคมีเป็นต้น
สนทนาเพื่อการบําบัด (interaction) เพื่อให้ผู้ป่วยได้ระบายความซึมเศร้าความทุกข์ความเครียด และความวิตกกังวลช่วยให้ผู้ป่วยตระหนักรู้และเข้าใจปัญหาของตนตามสภาพความเป็นจริง
ให้ผู้ป่วยบอกข้อดีของตนเอง
จัดกิจกรรมและสนับสนุนให้ผู้ป่วยเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่มบําบัดเพื่อเสริมสร้างความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง เปลียนแปลงพฤติกรรมและปรับตัวในสังคมได้ เช่น กลุ่มวาดภาพกลุ่มจิตบําบัดประคับประคองกลุ่ม เสริมสร้างคุณค่าในตนเอง เปนต้น
มอบหมายงานให้ผู้ปวยทํากิจกรรมทีเป็นประโยชน์ต่อส่วนรวมเช่นเช็ดโต๊ะเก็บแก้วนาดื่ม เป็นผู้นํา การออกกําลังกายตอนเช้าเป็นต้นพร้อมให้คําชมเชยเมื่อผู้ป่วยทําได้ตามทีมอบหมายเพื่อให้เกิดกําลังใจ
แนะนําให้ครอบครัวมาเยียมสมาเสมอ
ดูแลให้รับประทานอาหารและยาตามแผนการรักษาของแพทย์รวมทังสังเกตอาการข้างเคียงของยา
สังเกตอาการเปลี่ยนแปลงและมาลงบันทึกในรายงาน
วัตถุประสงค์
เพือให้ผู้ป่วยปลอดภัยจากการทําร้ายตัวเอง /ไม่ไกลการทําร้ายตนเองซ้ำ
การประเมินผล
หลังจากได้รับการบําบัดตามแผนการรักษาพยาบาลในระยะหนึ่งสัปดาห์แ รกผู้ปวยมีสีหน้าแจ่มใสขึนมี
ความสัมพันธ์กับพยาบาลมากขึ้นพูดทักทายกับพยาบาลพูดคุยล้อเล่นกับ เพื่อนผู้ปวยด้วยกันได้ไม่พบพฤติกรรม
ทําร้ายตนเองสนใจสิงแวดล้อมมากขึ้นหลังจากได้รับการบําบัดตามแผน การรักษาในสัปดาห์ทีสองผู้ปวยมีสีหน้า
แจ่มใสขึ้นเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆโดยไม่ต้องกระตุ้นกล้าแสดงออกความคิ ดเห็นร่วมกับเพื่อนในกลุ่มได้มองเห็น คุณค่าในตนเอง
ข้อมูลสนับสนุน
S : ผู้ป่วยบอกว่าไม่มีใครรักไม่มีค่าแม่กับยายชอบด่าว่า อยากตาย
S: มารดาบอกว่ากินยาเกินขนาด 5 ครังครังหลังสุด 3 อาทิตย์ก่อนมาโรงพยาบาล
O: สีหน้าไม่แจ่มใสซึมเศร้านังก้มหน้าไม่สบตา
ความหมาย
อารมณ์ซึมเศร้า รู้สึกว่างเปล่า หรือหงุดหงิด ร่วมกับมีอาการทาง กายหรือการเปลี่ยนแปลงของ cognition ซึงส่งผลกระทบต่อการใช้ชีวิตประจําวัน
โรคสำคัญในกลุ่มนี้
3.Persistent depreesive disorder (dysthymia)
1.Disruptive mood dysregulation disorde
4.Premenstrual dysphoric disorder
2.Major depreesive disorder
การพยาบาลบําบัดภาวะซึมเศร้า (therapeutices of depression
การบําบัดด้านจิตใจหรือการทําจิตบําบัด (psychotherapy)
2.5 การบําบัดโดยการแก้ปัญหา (Problem -Solving Therapy)
2.6 การบำบัดพฤติกรรมแบบปฏิสัมพันธ์ระหว่างกัน-กลุ่มฝึกทักษะ (Dialectical Behavior Therapy -Based Skills Group : DBT Based Skills Group)
2.4 การบําบัดพลวัตแบบย่อสัน (Brief Dynamic Therapy :BDT)
2.7 การทำจิตบำบัดแบบจิตวิเคราะห์ระยะสัน (Short-Term Phychodynamic Psychotherapy Psychodynamic lnterventions / Psychological Interventions)
2.3 การทําจิตบําบัดสัมพันธภาพระหว่างบุคคล (Interpersonal Psychotherapy : IPT)
2.8 การให้ปรึกษา (Counseling)
2.2 การบําบัดความคิดและพฤติกรรม (Cognitive Behavioral Therapy :CBT)
2.1 การบําบัดทางปัญญา (Cognitive Therapy : CT)
การจัดสิงแวดล้อมเพือการบําบัด (milieu therapy)
3.1 การสร้างบรรยากาศทีอบอุ่น เป็นมิตร ปลอดภัย
3.2 คุณลักษณะของผู้บําบัดเป็นสิงแวดล้อมทีสําคัญ
3.3 การจัดกิจกรรมบําบัดทีเหมาะสมสามารถดึงความภาคภูมิใจในตนเองของผู้ทีมีภาวะซึมเศร้า กลับมาอีกครัง
การบําบัดด้านร่างกาย (physical therapyies)
1.2 การรักษาด้วยไฟฟา (eletroconvulsive therapy : ECT )
มุ่งเน้นการปรับภาวะสมดุลของ สารสือประสาทสมองโดยใช้กระแสไฟฟ้าเป็นตัวบำบัด ผู้รักษาจะเลือกใช้เฉพาะกรณีทีจําเป็นเท่านัน
2) ไม่สามารถรับประทานยาได้
3) ไม่ตอบสนองต่อการบําบัดรักษาด้วยยา หรือรับประทานยาต้านอารมณ์ซึมเศร้าแล้วไม่ ได้ผลหรือได้ผลน้อย
1) มีอาการซึมเศร้าระดับรุนแรง จนมีหรืออาจมีอันตรายจากการพยายามฆ่าตัวตาย
4) ผู้ทีมีอาการทางจิตรุนแรง เช่น หวาดระแวง หลงผิด ประสาทหลอน เป็นต้น
1.3 การจํากัดพฤติกรรม (setting limit)
เริมต้นจากการประเมินภาวะซึมเศร้าทีอยู่ในภาวะเสียงและคุกคามความ ปลอดภัย ทังของผู้ใช้บริการและสิงแวดล้อม
อธิบายผู้ใช้บริการเข้าใจถึงความจําเป็นของการจํากัดพฤติกรรม ด้วยท่าทีและบุคลิกภาพสงบ เสียงดังฟงชัด ยืนในระยะห่างพอสมควร
ประเมินศักยภาพของตนเองพร้อมทัง ประเมินแหล่งช่วยเหลือทีมีในขณะนัน
ดําเนินการผูกยึดด้วยเทคนิคทีปลอดภัย
จากนั้นดูแลอย่างใกล้ชิด เยี่ยม ทุก 30 นาที เพื่อประเมินอาการความรู้สึกความสุขสบายทางด้านร่างกาย และความสามารถในการควบคุมตนเอง
หลังจากอาการสงบและประเมินได้ว่า ผู้ใช้บริการสามารถควบคุมตนเองได้ปลอดภัย ผู้ดูแลควรเลิกผูก ยึดทัน
1.1 การรักษาด้วยยา (medication)
กลุ่มที 2 Tricyclic and Tetracyclic Antidepressants (TCAs)
กลุ่มที 3 Selective Serotonin Reuptake Inhibitors (SSRIs)
กลุ่มที1 Monoamine Oxidase Inhibitor (MAOIs)
กลุ่มที 4 Newer Antidepressants (NAs)