Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5.10 การพยาบาลคนที่มีความผิดปกติทางอารมณ์ โรคอารมณ์สองขั้ว - Coggle…
บทที่ 5.10
การพยาบาลคนที่มีความผิดปกติทางอารมณ์ โรคอารมณ์สองขั้ว
ลักษณะอาการทางคลินิก
1.ด้านอารมณ์
ผู้ป่วยรู้สึกมีวามสุขมาก อารมณ์ดีไม่สำรวม
หากถูกห้ามปรามหรือขัดขวางในสิ่งที่ตนต้องการ
จะหงุดหงิดฉุนเฉียว
3.ด้านพฤติกรรม
รู้สึกคึกคักมีกำลังวังชา ขยันมากกว่าปกติ แต่มักทำได้ไม่ค่อยดี
ความต้องการนอนลดลง ชอบพูดคุยทักทายผู้อื่น แม้แต่กับคนแปลกหน้า
พูดมาก พูดเร็ว กิจกรรมทางเพศเพิ่มขึ้น ใช้จ่ายสิ้นเปลือง
2.ด้านความคิด
มีความคิดสร้างสรรค์เชือมโยงมากมาย มีโครงการท ากิจการต่างๆ เกินตัว เชือมันในตนเองมากร่วมกับมีการตัดสินใจทีไม่เหมาะสม ไม่ยอมรับฟงผู้อืน เปลียนความสนใจง่ายความคิด แล่นเร็ว (flight of idea)
รายทีอาการรุนแรงอาจมีอาการหลงผิดหรือประสาทหลอน โดยเนือหามักเกียวกับ เรืองของอ านาจวิเศษ ศาสนา หรือบางครังอาจมีลักษณะเช่นเดียวกับทีพบในโรคจิตเภท
การวินิจฉัย :
Bipolar l disorder ผู้ป่วยมีอาการของ manic episode สลับกับ major depressive episode
Bipolar ll disorder ผู้ป่วยมีอาการของ hypomanic episode สลับกับ major depressive episode
การจำแนกกลุ่มย่อย
1.With anxious distress
A.มี Inflated self-esteem หรือ irritable mood
B.มีอาการต่อไปนี้ตั้งแต่ 3 อาการขึ้นไป (ตั้งแต่ 4 อาการ กากเป็นอารมณ์หงุดหงิด
1.Inflated self-esteem หรือ grandiosity
2.ความต้องการนอนลดลง
3.พูดมากกว่าเคย หรือพูดไม่หยุด
4.Flight of idea หรือรู้สึกว่าความคิดแล่นเร็ว
5.วอกแวกง่าย (distractibility)
6.ประกอบกิจกรรมต่างๆมากขึ้น หรือมี psychomotor agitation
7.เข้ายุ่งเกี่ยวกับเรื่องที่ทำให้ตัวเองเพลิดเพลินมากเกินควร แต่มักมีผลเสียติดตามมา
C.อาการรุนแรงจนมีผลต่อการประกอบอาชีพ การเข้าสังคม หรือสัมพันธภาพกับผู้อื่น
D.อาการไม่ได้เกิดจากสาเหตุทางกายหรือการใช้สารเสพติด
*สำหรับ hypomanic episode มีอาการเหมือนเกณฑ์ข้อ 2
เป็นนานอย่างน้อย 4 วัน อาการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมชัดเจน
แต่ไม่รุนแรงจนทำให้มีผลกระทบมากดังในเกณฑ์ข้อ 3
2.Mixed features
ผู้ป่วยที่มีอาการอยู่ในช่วง mania หรือ hypomania
และจะมีอาการของ major depressive episode ร่วมด้วยอย่างน้อย 3 อาการ
แต่ยังไม่เข้าเกณฑ์ในการวินิจฉัย major depressive episode
3.Rapid cycling pattern
ผู้ป่วยมีอาการมากว่า 4 episode ต่อปี พบมากในผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย
4.Psychotic features
ผู้ป่วยมีอาการหลงผิดหรือประสาทหลอนร่วมด้วย
ซึ่งเป็นอาการที่บ่งชี้ว่าปู้ป่วยมีอาการรุนแรง
และมีการพยากรณ์โรคที่ไม่ดี
ระบาดวิทยา
ความชุกชั่วชีวิตของ Bipolar spectrum disorder ประมาณร้อยละ 4
อายุที่เริ่มเป็นโรคอาจอยู่ในช่วงวัยเด็กไปจนถึง 50 ปี โดนอายุเฉลี่ยที่เริ่มเป็นโรคคือ 20 ปี
.โอกาสเป็นโรค Bipolar I disorder ของเพศหญิงเท่ากับชาย เพศหญิงมักมี major depressive episode บ่อยกว่า และได้รับการวินิจฉัยเป็น Bipolar II disorder มากกว่าเพศชาย
ผู้ป่วยมักมีโรคจิตเวชอื่นร่วมด้วย
สาเหตุ
1.ด้านชีวภาพ
1)พันธุกรรม
2)ความผิดปกติของสารส่งผ่านประสาท
Norepinephrine, dopamine และ serotonin โดยช่วง depression
พบ Norepinephrine และ dopamine ต่ำลง ส่วนช่วงแมเนียจะพบ
Norepinephrine และ dopamine สูงขึ้น
3)ระบบ Neuroendocrine
พบความผิดปกติของ HPA axis และ corridor level สูงขึ้น
ในผู้ป่วยโรคอารมณ์สองขั้วที่มีอาการซึมเศร้า
การวินิจฉัยแยกโรค
1.Mood disorder
จากโรคทางกาย หรือจากยาและสาร ทำให้เกิดอาการแมเนียลักษณะอาการ ทางคลินิก ไม่ต่างจากโรคอารมณ์สองขัวโดยเฉพาะในผู้สูงอายุ
โรคจิต
โรคจิตเภท schizoaffective disorder โดยผู้ปวยทีมีอาการแมเนีย ร่วมกับอาการโรค จิต จะมีอาการกําเริบในช่วงเวลาอันสัน
ช่วงเริ่มมีอาการของแมเนียอาจยังไม่พบอาการหลงผิด หรือว่า ประสาทหลอน
ส่วนผู้ป่วยที่เป็น schizoaffectiveนัน ก็จะมีช่วงทีมีอาการโรคจิตโดยทีไม่มีอาการทางอารมณ์ ร่วมด้วย
Personality disorder
ผู้ป่วยทีมีบุคลิกภาพผิดปกติแบบ borderline histrionic บางครังอาจมี อารมณ์เปลียนแปลงง่ายๆไม่คงที่ขาดความยับยังชังใจคล้ายกับอาการทีพบในช่วงแมเนียไ
การดําเนินโรค
Mood episode ครังแรกมักเป็น depressive episode อาการครังแรก มักเกิดในช่วงอายุ 15-24 ป ผู้ป่วยที่เริ่มป่วยด้วย manic episode มีโอกาสทีจะป่วยซ้ำมากกว่าร้อยละ 90 และโดยรวมแล้วโรคอารมณ์ สองขัวมีโอกาสป่วยซ้ำสูงกว่าโรคซึมเศร้า
ผู้ป่วยทีมี Mood episode good time line เกิดซ้ำหลายๆ ครั้ง พบว่าจะยิงมีระยะเวลาทีอารมณ์ ปกติ(euthymic state) ลดลงตามจํานวน episode ทีเพิ่มขึ้นและพบว่าการเกิดอาการครังแรกๆ มักสัมพันธ์ กับความรุนแรงของความกดดันมีชีวิตของผู้ป่วยแต่ครั้ง หลังๆ จะไม่ค่อยสัมพันธ์กับความกดดันภายนอกพบว่า manic episode หากไม่ได้รับการรักษาระยะเวลาที่เป็นโดยเฉลี่ยจะนาน ประมาณ 3 เดือน
การรักษา
การรักษาด้วยยา
ยาทีใช้รักษาผู้ป่วยโรคอารมณ์สองขัว ได้แก่ ลิเธียม ยากันชัก เช่น divalproate,carbamazepine และsecond-generation antipsychotics (SGA)
1) การรักษาระยะเฉียบพลัน (Acute treatment )
เป็นการรักษาเพือลดอาการของผู้ป่วย และควบคุมอาการของผู้ป่วยให้ดีขึนโดยเร็วทีสุด ซึ่งมักอยู่ในช่วง 3-8 สัปดาห์หลังจากทีผู้ป่วยเริ่มการรักษา
2) การรักษาระยะต่อเนื่อง (Continuatior treatment)
หลังจากที่อาการดีขึนแล้ว ผู้ป่วยบางรายอาจจะยังเหลืออาการอยู่บ้าง (subsyndromal) โดยในระยะนีจะเป็นการให้ยาเดิมทีผู้ปวยได้รับ ในระยะ acute phase ต่อหรืออาจปรับลดยาลง เพื่อลดผลข้างเคียงของยา
3) การปองกันระยะยาว (Maintenance treatment)
เป้าหมายของการรักษาเพื่อ ป้องกันการ recurrence ช่วยให้ผู้ปวยกลับไปใช้ชีวิตประจำวันได้อย่างเป็นปกติให้มากทีสุด
การรักษาด้วยไฟฟา (Electroconvulsive therapy: ECT)
ในกรณีทีผู้ป่วยไม่ตอบสนองต่อการรักษาด้วยยา ไม่สามารถทนต่อผลข้างเคียง ของยาได้ หรือกรณีทีผู้ป่วยมีความเสียงสูงต่อการฆ่าตัวตาย และต้องการควบคุมอาการของผู้ป่วยให้สงบได้ โดยเร็ว
การรับไว้รักษาในโรงพยาบาล
ผู้ปวยทีมีอาการรุนแรง เช่น ก้าวร้าว ทำลายข้าวของ มีอาการโรคจิตหรือไม่พักผ่อน รบกวนคนใน ครอบครัวหรือผู้อื่น ญาติควบคุมพฤติกรรมไม่ได้ เป็นต้น
การรักษาด้านจิตสังคม (Psychosocial intervention)
2) Cognitive-behavior therapy
มุ่งเน้นที่การปรับเปลี่ยนความคิด และพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมของผู้ป่วย
3) Interpersonal and social rhythm Therapy
เน้นการช่วยให้ผู้ป่วย ตระหนักและแก้ไข้กิจกรรมในชีวิตประจำวัน หรือปัญหาความสัมพันธ์กับผู้อื่น ที่ส่งผลต่อการนอนของผู้ป่วย เพื่อช่วยให้การนอนกลับมาเป็นปกติ
1) Psychoeducation
การให้ความรู้กับผู้ป่วยและครอบครัวเกียวกับโรค ปัจจัยเสียงในการ เกิดโรค การดําเนินโรค การรักษา รวมถึงการป้องกันการกลับเป็นซ้ำ
4) Family intervention หรือ Family focus-therapy
การให้ความรู้แก่ผู้ป่วยและ ครอบครัว ส่งเสริมให้มีการสื่อสารกันในครอบครัว และช่วยให้ผู้ป่วยกับครอบครัวมีวิธีจัดการปัญหาทีเกิดขึ้น ภายในครอบครัวได้ดีขึ้น