Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สรุปบทที่ 3 การพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาจิตสังคม 3.3 บุคคลท่ีมีภาวะสูญเสียและ…
สรุปบทที่ 3 การพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาจิตสังคม
3.3 บุคคลท่ีมีภาวะสูญเสียและเศร้าโศก
ความหมาย
การสูญเสีย
การที่บุคคลพลัดพรากจากบุคคล สัตว์เลี้ยง สิ่งของ อวัยวะ หรือ ความรู้สึกภาคภูมิใจในตนเอง
เมื่อมีการสูญเสียบุคคลจะมีปฏิกิริยาต่อการสญูเสียน้ันๆซึ่งเป็นการแสดงออกท่ีเจ็บปวดท้ังด้านร่างกายจิตใจ การรู้คิด และพฤติกรรม ซึ่งแตกต่างกันออกไปในแต่ละบุคคล
มีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกับภาวะเศร้าโศก
ภาวะเศร้าโศก
เป็นปฏิกิริยาทางอารมณ์และจิตใจที่เกิดขึ้นภายหลังจากบุคคลเผชิญกับ การสูญเสียหรือคาดว่าจะมีการสูญเสียเกิดขึ้น
ประเภทและลักษณะอาการ
และอาการแสดง
ภาวะเศร้าโศก
การเศร้าโศกแบบปกติ
ระยะเฉียบพลัน
เกิดขึ้นในช่วง 4 – 8 สัปดาห์แรก
บุคคลจะช็อค ไม่เชื่อ และไม่ยอมรับ
ตื่นตะลึง ตัวชา และปฏิเสธ
ระยะเผชิญกับการสูญเสีย
อาการแสดงทางกาย
หายใจขัด ลําคอตีบตัน หมดแรง อ่อนเพลีย ตัวชา หน้ามืด คอแห้ง คลื่นไส้อาเจียน
อาการแสดงทางจิตใจ
มีความคิดหมกมุ่น อยู่กับสัญลักษณ์หรือ ตัวแทนของบุคคลที่สูญเสีย
ใช้เวลา 20 – 60 วันแรก
การเศร้าโศกแบบผิดปกติ
ภาวะสูญเสีย
การสูญเสียสิ่งของภายนอก
ทรัพย์สินเงินทอง
ที่อยู่อาศัย
การถูกแยกจากสภาพแวดล้อมเดิม
การสูญเสียตามช่วงวัย
เด็กที่ต้องหย่านมแม่
การสูญเสียที่เกิดจากความเสื่อมตาม
ช่วงวัยในวัยกลางคนหรือผู้สูงอายุ
การออกจากครอบครัวเมื่อต้องไปใช้ชีวิตคู่
การสูญเสียภาพลักษณ์ หรืออัตมโนทัศน์
การสูญเสียอวัยวะในร่างกาย
การสูญเสียการทํา หน้าที่ของร่างกายจากภาวะการเจ็บป่วยหรืออุบัติเหตุ
การสูญเสียความรักหรอืบคุคลสําคัญในชีวิต
จะมีปฏิกิริยาต่อการสูญเสียแบ่งเป็น 3 ระยะ ดังนี้
ระยะช็อค
ตกใจ ไม่เชื่อ ปฏิเสธ อาจเกิดความรู้สึกมึนชาใน 2 -3 ชั่วโมง ถึง 2 -3 สัปดาห์
ระยะพัฒนาการตระหนักรู้ถึงการสูญเสีย
การร้องไห้คร่ำครวญถึงการสูญเสียนั้น ความอยากอาหารลดลง นอนไม่เหลับ มีการทําหน้าท่ีในชีวิตประจําวันลดลง อาจโกรธด้วย
ใช้เวลา 2 – 3 สัปดาห์แล้วจะดีขึ้นเองใน 2–4 เดือนโดยส่วนใหญ่จะไม่เกิน 6 เดือน
ระยะพักฟื้น
มีการปรับตัวเพื่อฟื้นคืนสู่ภาวะปกติ
เริ่มยอมรับความจริง การหมกมุ่นคิดถึงส่ิงท่ีสูญเสียน้อยลง
มองหาสิ่งใหม่ทดแทน และเริ่มมีความหวังใหม่ในชีวิต
การพยาบาล
การประเมิน
ระดับความรุนแรงของอาการและอาการแสดง
ระดับการให้คุณค่า
ลักษณะบุคลิกภาพ
ประสบการณ์การสูญเสียในอดีต
ความพร้อมแหล่งสนับสนุนช่วยเหลือทางสังคม
การวินิจฉัยทางการพยาบาล
มุ่งเน้นลดภวะเศร้าโศก
ให้การดูแลเรื่องอาการ และอาการแสดงทางกาย
ช่วยส่งเสริมสนับสนุนให้ครอบครัว และแหล่งสนับช่วยเหลือทางสังคม
ฝึกทักษะใน การยอมรับความจริงของชีวิต
การใช้วิธีในการเผชิญปัญหาที่สร้างสรรค์
กิจกรรมการพยาบาล
การลดภาวะเศร้าโศก
สร้างสัมพันธภาพแบบตัวต่อตัว
รับฟังอย่างเข้าใจ
การดูแลเรื่องอาการและอาการแสดงทางกาย
ส่งเสริมสนับสนุนให้ครอบครัวมีส่วนร่วมในการดูแล
ฝึกทักษะการเผชิญปัญหาชีวิตที่สร้างสรรค์